350 likes | 768 Views
M anagement I nformation S ystem. 2004. 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ. Decision Support Systems-DSS ลักษณะของ DSS จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน นำเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็นข้อความและกราฟิก. M anagement I nformation S ystem. 2004.
E N D
Management Information System 2004 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support Systems-DSS ลักษณะของ DSS • จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน • นำเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็นข้อความและกราฟิก
Management Information System 2004 เปรียบเทียบ MRSและ DSS ปัจจัย MRS DSS -ประเภทของการตัดสินใจ -การตัดสินใจที่มีลักษณะกึ่ง มีโครงสร้าง (semi-structured decision) หรือมีโครงสร้าง -การตัดสินใจที่ไม่มีโครงสร้าง -ผู้ใช้(users) -บุคคล กลุ่มคน และองค์กร -องค์กร -ระบบจะพิมพ์รายงานออกมาตามระยะเวลาที่กำหนด จึงไม่ได้ให้ผลที่ต้องการทันที -onlineและ realtime -ระบบ(systems)
Management Information System 2004 เปรียบเทียบ MRSและ DSS ปัจจัย MRS DSS -ดึงข้อมูล(retrieve)จาก ฐานข้อมูล -การประมวลผล -ใช้โมเดล(Model) ในการวิเคราะห์ -กำหนดไว้ล่วงหน้า -เป็นรูปแบบของรายงานหรือเอกสาร -รูปแบบยืดหยุ่นตามความต้องการ -มีลักษณะโต้ตอบได้(interactive) -รายงานส่วนใหญ่อยู่บนหน้าจอ(Screen)ซึ่งสามารถพิมพ์ออกทางพรินเตอร์ได้ -เอาท์พุท
Management Information System 2004 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ส่วนประกอบและโครงสร้างของ DSS • การจัดการข้อมูล(Data Management) • การติดต่อระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์(User Interface) • การจัดการโมเดล(Model management) • การจัดการกับความรู้(Knowledge management)
Management Information System 2004 ความสัมพันธ์ระหว่าง TPS,MRS และ DSS ฐานข้อมูล ของหน่วยงาน ฐานข้อมูล จากภายนอก ฐานข้อมูล ของธุรกรรม ที่ถูกต้อง ฐานข้อมูลของ แอพพลิเคชัน DSS ธุรกรรม TPS MRS EIS GDSS ฐานข้อมูล การปฏิบัติงาน รายงาน ที่มา:ปรับจากStair & Reynolds.(1999:391).
Management Information System 2004 3.6 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ประเภทของ DSS • ระบบที่สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล(Executive Information Systems-EIS) • ระบบที่สนับสนุนการตัดสินใจของกลุ่ม(Group Decision Support Systems-GDSS) • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Systems-GIS) • ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert Systems-ES)
Management Information System 2004 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร Executive Information Systems-EIS Executive Support Systems-ESS • เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ที่สนับสนุนการทำงานของผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะเรื่องที่มีความสำคัญขององค์กร หรือเรื่องทิศทางการดำเนินงานขององค์กร โดยทำให้การเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว • มีรูปแบบที่ใช้งานง่าย
Management Information System 2004 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร หน้าที่ของEIS • ช่วยในการวางแผนกลยุทธ์ • ช่วยในการควบคุมเชิงกลยุทธ์(Strategic control) • การสร้างเครือข่าย(Networks) • ช่วยในการติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด • ช่วยในการจัดการกับวิกฤต(Crisis management)
Management Information System 2004 Executive Information Systems-EIS EIS ดาต้าแวร์เฮาส์ • วิเคราะห์/ตัดสินใจ • เจาะลึกข้อมูล • ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป • ใช้DSS และ AI • สารสนเทศจากภายใน • สารสนเทศจากภายนอก สามารถเข้าถึงสารสนเทศ ได้ทุกประเภท สนับสนุนการทำรายงาน ในลักษณะยืดหยุ่นและ เป็นเครื่องมือวิเคราะห์สารสนเทศ ช่วยผู้บริหารระบุปัญหา และสร้างโอกาส ที่มา:ปรับจากHaag et al.(2000:68).
Management Information System 2004 3.7 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ความสามารถทั่วไปของEIS • การเข้าถึงดาต้าแวร์เฮาส์(Data Warehouse) • ใช้ความสามารถในการเจาะข้อมูล(Drill down) • การนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่มีความยืดหยุ่น • การเข้าถึงสารสนเทศที่หลากหลาย • การใช้โมเดลในการวิเคราะห์แนวโน้ม(Trend analysis)
Management Information System 2004 คุณสมบัติของ EIS • สนับสนุนการวางกลยุทธ์ และการวางแผนกลยุทธ์ • เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ โดยเฉพาะข่าวสารที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอก • มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง เนื่องจากต้องเกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน • ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน เนื่องจากผู้บริหารมีกิจกรรมที่หลาหลายหรืออาจจะกล่าวได้ว่าเวลาของผู้บริหารมีค่ามาก • พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
Management Information System 2004 ความสัมพันธ์ระหว่าง EIS กับ DSS • EIS - ผู้บริหารระดับสูง • DSS -ผู้บริหารระดับกลาง • EIS ออกแบบให้ง่ายต่อใช้งาน โดยมีตาราง กราฟ DSSจะให้ข้อมูลการตัดสินใจตามลักษณะงาน • ความแตกต่างในเรื่องของทักษะการใช้ระหว่าง EISและ DSS
Management Information System 2004 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ Group Decision Support Systems-GDSS • GDSS เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบคอมพิวเตอร์แบบโต้ตอบได้(interactive) ในการสนับสนุนงานแก้ปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง สำหรับผู้ตัดสินใจที่ทำงานเป็นกลุ่ม • เป้าหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการประชุมและการตัดสินใจ ทำให้รวดเร็วขึ้น • สนับสนุนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยกระตุ้นความคิด • ระดมความคิดและการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
Management Information System 2004 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ ประเภทของGDSS • แบบห้องการตัดสินใจ(Decision room) • การตัดสินใจโดยใช้เครือข่ายวงแลน(Local Area Decision) • การประชุมทางไกล(Teleconferencing) • เครือข่ายการตัดสินใจแบบ (Wide Area Decision Network –WAN)
Management Information System 2004 ประเภทของGDSS สูง Local area Decision networks Wide area Decision network ความถี่ในการ ตัดสินใจ Decision room Teleconferencing ต่ำ ใกล้ ไกล ระยะทางของผู้ตัดสินใจ
Management Information System 2004 3.8 ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ ประโยชน์ของGDSS • ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการประชุมเพิ่มขึ้น • สร้างบรรยากาศของความร่วมมือ • การประเมินมีลักษณะเป็นวัตถุวิสัยมากขึ้น • ช่วยให้มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลภายนอกได้อย่างรวดเร็ว • ผลของการประชุมมีการบันทึกไว้
Management Information System 2004 ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน ระบบจัดการเอกสาร ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร ระบบสารสนเทศ สำหรับสำนักงาน ระบบประชุมทางไกล ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ในสำนักงาน
Management Information System 2004 ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน (ต่อ) การประมวลคำ ระบบจัดการเอกสาร การผลิตเอกสารหลายชุด การออกแบบเอกสาร การประมวลรูปภาพ การเก็บรักษา รูป ระบบจัดการเอกสาร ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร โทรสาร ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์เสียง รูป ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร
Management Information System 2004 ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน (ต่อ) การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งเสียงและภาพ ระบบประชุมทางไกล การประชุมทางไกลใช้เฉพาะเสียง การประชุมโดยใช้คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ภายใน การปฏิบัติงานผ่านระบบสื่อสารทางไกล รูป ระบบประชุมทางไกล ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม ระบบจัดระเบียบงาน คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ การนำเสนอประกอบภาพ กระดานข่าวสารใน สำนักงาน รูป ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน
Management Information System 2004 3.9 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS ย่อมาจากคำว่าGeographic Information System การนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งกระจายอยู่ในรูปต่าง ๆ เช่น แผนที่ สถิติ - ตาราง และคำบรรยายมาจัดเก็บไว้ให้เป็นหมวดหมู่ในระบบที่อ้างอิงพิกัดภูมิศาสตร์ เพื่อสะดวกในการแสดงผลและเรียกค้นข้อมูลได้รวดเร็วถูกต้องง่ายต่อการประมวลผล ตลอดจนการวิเคราะห์เพื่อที่จะนำไปใช้ในการวางแผนหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ต่อไป ที่มาhttp://www.gis.deqp.go.th/eqpdimsthai/html/IntroductiontoGIS.html
Management Information System 2004 3.9 องค์ประกอบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ Software Hardware Data GIS People Process ที่มาhttp://www.gis.deqp.go.th/eqpdimsthai/html/IntroductiontoGIS.html
Management Information System 2004 3.10 เรานำ GISไปใช้ทำอะไรบ้าง • Locationเป็นการสอบถามข้อมูลจากแผนที่ เช่น อยากรู้ว่าใครเป็นเจ้าของบ้านหลังนี้ เป็นต้น หรือค้นหาตำแหน่งที่ต้องการ เช่น อยากรู้ว่าบ้านนายสมชายอยู่ที่ไหน เป็นต้น • Condition เป็นการค้นหาข้อมูลในระดับที่สูงขึ้นมาโดยการให้เงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล เช่น หาว่าแปลงที่ดินแปลงใดบ้างในจังหวัดนนทบุรีที่มีพื้นที่มากกว่า 20 ไร่ เป็นต้น • Trendsเป็นการวิเคราะห์รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ ณ เวลาต่างๆ เช่น เปรียบเทียบการขยายตัวของเขตเมืองระหว่างปี 2520 ถึง 2540 เป็นต้น • Patterns เป็นการวิเคราะห์เพื่อดูรูปแบบทางพื้นที่ของเหตุการณ์ที่สนใจ เช่น รูปแบบการกระจายของโรคพืช เป็นต้น • Modelingเป็นการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบว่า "จะเกิดอะไร ถ้า...." เช่น การหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ...... โดยกำหนดตาม criteria นั้นๆ เป็นต้น ที่มาhttp://www.gis.deqp.go.th/eqpdimsthai/html/IntroductiontoGIS.html
Management Information System 2004 ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ ปัญญาประดิษฐ์ - ประมวลสัญลักษณ์และ ตัวเลข - ไม่ดำเนินตามขั้นตอนทาง คณิตศาสตร์ - ให้ความสำคัญกับการรับรู้ แบบแผน ปัญญาประดิษฐ์ VS ระบบสนเทศทั่วไป ระบบสารสนเทศทั่วไป - ประมวลทางคณิตสาสตร์ - วิเคราะห์และแก้ปัญหา ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก คณิตศาสตร์
Management Information System 2004 ประเภทของ AI • การประมวลภาษาธรรมชาติ(Natural Language Processing) เป็นการพัฒนาใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษาที่มนุษย์ใช้ประจำวัน • ระบบการมองเห็น(Vision Systems) ถูกพัฒนาเพื่อลอกเลียนการมองเห็นของบุคคล • ระบบเครือข่ายเส้นประสาท(Neural Network) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาให้จำลองการทำงานของเส้นประสาทสามารถสังเกต เรียนรู้ การจดจำ การทำซ้ำ • หุ่นยนต์(Robotics) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมต้องการความเที่ยงตรงในการผลิตสินค้าจำนวนมากหรือใช้ในงานที่เสี่ยง
Management Information System 2004 ประเภทของ AI • Genetic Algorithmsที่ช่วยในการสร้างทางเลือกจำนวนมากในการแก้ปัญหา • ระบบการเรียนรู้(Learning Systems)เป็นระบบที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์โดยสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิกิริยากับสถานการณ์แวดล้อมได้
Management Information System 2004 3.11 ระบบผู้เชี่ยวชาญ • ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้ใช้ ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในบางสาขา • มีลักษณะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเอาไว้(Knowledge based) • โปรแกรมจะพยายามหาคำตอบจากสิ่งที่ผู้ใช้ได้ป้อนเข้าไป หรือให้คำแนะนำที่ได้จากกฏที่กำหนดไว้
Management Information System 2004 3.11 ระบบผู้เชี่ยวชาญ ประโยชน์ของES • ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะด้านแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป • ให้ความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญ • ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ
Management Information System 2004 3.11 ระบบผู้เชี่ยวชาญ • กระจายความรู้ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความชำนาญ เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณีวิทยา • ความแน่นอน เป็นการสร้างความแน่นอนและความเที่ยงตรงให้เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรือการวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็นต้น • เตรียมการสำหรับอนาคต ลดความเสี่ยงและป้องกันการขาดแคลนความรู้และประสบการณ์ในการตัดสินใจเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
Management Information System 2004 ตัวอย่างของระบบผู้เชี่ยวชาญ • ด้านการแพทย์ • ด้านการผลิต • ด้านธรณีวิทยา • ด้านกระบวนการผลิต • ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต • ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ • ด้านการค้าระหว่างประเทศ
Management Information System 2004 องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ • ฐานความรู้(Knowledge base) • เครื่องมือในการการอนุมาน(Inference Engine) • อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย(Explanation facility) • อุปกรณ์ในการหาความรู้(Knowledge acquisition facility) • การติดต่อกับผู้ใช้(User Interface)
Management Information System 2004 องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ อุปกรณ์ช่วย ในการอธิบาย Inference Engine ฐานความรู้ อุปกรณ์ในการเก็บ รวบรวมความรู้ User interface ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ใช้ ที่มา:ปรับจาก Stair&Reynolds.(1999:494).
Management Information System 2004 ข้อจำกัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ • การเก็บความรู้จากผู้เชี่ยวชาญทำได้ยาก • การสร้างกฎต่างๆ ทำได้ยาก • ใช้แก้ปัญหาได้เฉพาะจุดเท่านั้น
Management Information System 2004 Neural Network โครงข่ายประสาท หรือโครงข่ายประสาทประดิษฐ์ หรือ Artificial Neural Network (ANN) เป็นรูปแบบการประมวลผลสารสนเทศที่เลียนแบบมาจากการประมวลผลของระบบประสาทภายในสมองของมนุษย์
Management Information System 2004 Neural Network • การคิดค้นโครงข่ายประสาทในอดีตไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก แต่อย่างไรก็ตามได้มีผู้พยายามที่จะค้นหาความจริง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1943 Warren McColloch และ Walter Pits ได้คิดโครงสร้างของโครงข่ายประสาทเพื่อใช้งานจริงๆ ออกมา แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับอีกเช่นกัน • การเรียนรู้ของโครงข่ายประสาทเรียกว่า การเทรน(trained)ซึ่งจะเปรียบเทียบได้กับการคิดของผู้เชี่ยวชาญ หรือวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่