1 / 31

สำนักองค์การรัฐสภา ระหว่างประเทศ

สำนักองค์การรัฐสภา ระหว่างประเทศ. Bureau of Inter-Parliamentary Organizations. โครงสร้าง. รัฐสภา. สภาผู้แทนราษฎร. วุฒิสภา. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ. กลุ่มงาน สหภาพรัฐสภา (IPU). กลุ่มงาน บริหารทั่วไป. กลุ่มงาน องค์การรัฐสภา อาเซียน AIPO.

faith
Download Presentation

สำนักองค์การรัฐสภา ระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศสำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ Bureau of Inter-Parliamentary Organizations

  2. โครงสร้าง รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ กลุ่มงาน สหภาพรัฐสภา (IPU) กลุ่มงาน บริหารทั่วไป กลุ่มงาน องค์การรัฐสภา อาเซียน AIPO กลุ่มงานสหภาพ สมาชิกรัฐสภา เอเชีย และแปซิฟิก (APPU) กลุ่มงาน สมาคมรัฐสภา และสมาคม เลขาธิการ รัฐสภา (ASGP) กลุ่มงาน กิจการพิเศษ

  3. โครงสร้างของระดับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศที่สำนักองค์การฯ รับผิดชอบ องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศที่สำนักองค์การฯ รับผิดชอบ ระดับภูมิภาค (Regional) ระดับนานาชาติ (International) สหภาพรัฐสภา (IPU) สมัชชารัฐสภาอาเซียน (AIPA) สมัชชารัฐสภาเอเชีย (APA) สมาคมสมาชิกรัฐสภาระหว่างประเทศด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IPAIT) สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก (APPU) องค์การสมาชิกรัฐสภานานาชาติ เพื่อการต่อต้านการทุจริต (GOPAC) การประชุมสมาชิกรัฐสภาภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก (APPF) การประชุมสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (APPCED) การประชุมรัฐสภานานาชาติว่าด้วย การบริการสังคม (IPSS) การประชุมยุวสมาชิกรัฐสภาเอเชีย-ยุโรป (YPM) สมาคมเลขาธิการรัฐสภา (ASGP) การประชุมความเป็นหุ้นส่วนของ รัฐสภาเอเชียและยุโรป (ASEP) การประชุมยุวสมาชิกรัฐสภาของ เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออก และละตินอเมริกา (YPF)

  4. องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศที่สำนักองค์การฯ รับผิดชอบ องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศที่สำนักองค์การฯ รับผิดชอบ ระดับนานาชาติ (International) ระดับภูมิภาค (Regional) ชื่อองค์กร กลุ่มงานที่รับผิดชอบ ชื่อองค์กร กลุ่มงานที่รับผิดชอบ สมัชชารัฐสภาอาเซียน (AIPA) กลุ่มงาน AIPO สหภาพรัฐสภา (IPU) กลุ่มงาน IPU กลุ่มงาน ASGP สมัชชารัฐสภาเอเชีย (APA) สมาคมสมาชิกรัฐสภาระหว่างประเทศด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IPAIT) กลุ่มงาน ASGP สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก (APPU) กลุ่มงาน APPU องค์การสมาชิกรัฐสภานานาชาติ เพื่อการต่อต้านการทุจริต (GOPAC) การประชุมสมาชิกรัฐสภาภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก (APPF) กลุ่มงาน ASGP กลุ่มงานกิจการพิเศษ สมาคมเลขาธิการรัฐสภา (ASGP) การประชุมสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (APPCED) กลุ่มงาน ASGP กลุ่มงานกิจการพิเศษ การประชุมรัฐสภานานาชาติว่าด้วย การบริการสังคม (IPSS) กลุ่มงาน APPU การประชุมยุวสมาชิกรัฐสภาเอเชีย-ยุโรป (YPM) กลุ่มงานกิจการพิเศษ การประชุมความเป็นหุ้นส่วนของ รัฐสภาเอเชียและยุโรป (ASEP) กลุ่มงานกิจการพิเศษ การประชุมสามัญประจำปี หน่วยประจำชาติไทย (3หน่วย) กลุ่มงานบริหารทั่วไป การประชุมยุวสมาชิกรัฐสภาของ เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออก และละตินอเมริกา (YPF) กลุ่มงานกิจการพิเศษ

  5. สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศสำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ รูปแบบการดำเนินงานด้านพหุภาคีของรัฐสภาไทย เป็นสมาชิกองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ และจัดตั้งหน่วยประจำชาติไทยขึ้นรองรับ (National Group) ตามธรรมนูญขององค์กร เป็นสมาชิกองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ แต่มิได้จัดตั้งหน่วยประจำชาติไทย (Non-national Group) ร่วมกิจกรรมตามคำเชิญ (Non-member) IPU ASGP ระดับ นานาชาติ ระดับ นานาชาติ OSCE-PA GOPAC AIPA หรือ AIPO เดิม IPAIT APPU APA ระดับ ภูมิภาค ระดับ ภูมิภาค APPF APPCED IPSS YPM

  6. การดำเนินงานด้านต่างประเทศการดำเนินงานด้านต่างประเทศ การจัดตั้งหน่วยประจำชาติไทย จัดตั้งขึ้นตามธรรมนูญขององค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ ที่รัฐสภาไทยเป็นสมาชิกเพื่อเชื่อมการทำงานระหว่างองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศกับ รัฐสภาไทย โดยประธานรัฐสภาเป็นประธานหน่วยประจำชาติไทยโดยตำแหน่ง และ ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานหน่วยประจำชาติไทยโดยตำแหน่ง สมาชิกรัฐสภา ทุกคนเป็นสมาชิกหน่วยประจำชาติไทย บริหารงานโดยคณะกรรมการบริหาร หน่วยประจำชาติไทย ทั้งโดยตำแหน่งและคัดเลือกจาก สส. และ สว. ตามสัดส่วน หน่วยประจำชาติไทย รัฐสภา การไม่มีหน่วยประจำชาติไทยเกิดจากการที่รัฐสภาไทยเป็นภาคีสมาชิกในองค์การรัฐสภา ระหว่างประเทศ แต่ไม่ได้จัดตั้งหน่วยประจำชาติไทยขึ้น เนื่องมาจากไม่มีข้อกำหนดไว้ใน ธรรมนูญขององค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ ไม่มี หน่วยประจำชาติไทย การร่วมกิจกรรมตามคำเชิญนี้ หมายถึง การที่รัฐสภาไทยส่งคณะผู้แทนเข้าร่วมการประชุม รัฐสภาระหว่างประเทศตามคำเชิญที่ได้รับจากต่างประเทศและ/หรือองค์การระหว่างประเทศ แต่รัฐสภาไทยไม่ได้เป็นภาคีสมาชิกขององค์กรนั้นๆ การเข้าร่วมอาจเนื่องมาจากมีประเด็น ที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อฝ่ายนิติบัญญัติ การตัดสินใจเข้าร่วมประชุมอยู่ในดุลยพินิจของ ประธานรัฐสภา รวมถึงองค์ประกอบคณะผู้แทนฯ ที่อาจคัดสรรผ่านคณะกรรมาธิการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องก่อนได้รับอนุมัติจากประธานรัฐสภา ร่วมกิจกรรม ตามคำเชิญ

  7. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  8. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  9. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  10. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  11. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  12. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  13. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  14. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  15. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  16. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  17. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  18. กรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศกรอบภารกิจในการดำเนินงานด้านต่างประเทศ รูปแบบพหุภาคีของรัฐสภาไทย

  19. สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศสำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ

  20. การจัดตั้งหน่วยประจำชาติไทย ในสหภาพรัฐสภา สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก สมัชชารัฐสภาอาเซียน

  21. โดยตำแหน่ง 1. ประธานรัฐสภา เป็นประธาน 2. รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธาน 3. รองประธานสภาผู้แทนราษฎร 4. รองประธานวุฒิสภา 5. ผู้นำฝ่ายค้านฯ 6. ประธานคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สผ. 7. ประธานคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สว. เป็นกรรมการหน่วย ส.ส. ทั้งหมด 480 คน xกรรมการ 14 คน/หน่วย จำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด 630 คน ส.ว. ทั้งหมด 150 คน xกรรมการ 14 คน/หน่วย จำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด 630 คน กรรมการบริหารหน่วยพ้นจากตำแหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออกโดยยื่นหนังสือต่อประธานหน่วย 3.ครบวาระ 4.พ้นจากสมาชิกภาพแห่งรัฐสภา สมาชิกรัฐสภาทุกคนย่อมเป็นสมาชิกหน่วย เลือกตั้ง เลขาธิการหน่วยฯ เหรัญญิก ผู้สอบบัญชี วาระการ ดำรง ตำแหน่ง 2 ปี (ข้อ 5) อายุ พ้นตำแหน่ง นับตั้งแต่วันเริ่มสมัยประชุมสามัญทั่วไปแห่งรัฐสภาให้มีการเรียกประชุมใหญ่สามัญประจำปี (หมวด 3ข้อ 6) เมื่อมีการเลือกตั้งและ ได้มีการประชุมสามัญทั่วไปแห่งรัฐสภา ภายใน 60 วัน กรรมการบริหารอื่นอีก 14 คน โดยมีคุณสมบัติ ในที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งสมาชิก มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ประธานหน่วยจะเรียกประชุมใหญ่วิสามัญ เมื่อประธานหน่วยเห็นสมควรหรือ ให้ประธานหน่วยจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกหน่วยในโอกาสแรก และต้องดำรงตำแหน่งเท่าวาระของกรรมการหน่วยที่ตนแทน หน่วย ต้องประชุมปีละ 1 ครั้ง เป็นการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ประชุมวิสามัญ 1. วุฒิสภา องค์ประกอบ 2. ส.ส. มาจากพรรคการเมืองตามสัดส่วนที่พรรค ได้มีการเลือก สมาชิกไม่น้อยกว่า 20 คน เข้าชื่อ ร้องขอ เพื่อ 1. รับรองรายงานการบริหาร ของคณะกรรมการบริหาร 2. รับรองบัญชีการใช้จ่ายเงิน ค่าบำรุงของเหรัญญิกภายหลัง 3. ดำเนินกิจการอื่นที่คณะกรรมการบริหารเสนอต่อที่ ประชุมโดยที่คณะกรรมการ บริหารเห็นสมควร หรือโดยที่สมาชิก ของหน่วยไม่น้อยกว่า 20 คน เข้าชื่อกันร้องขอ (ข้อ 8) การคำนวณหาสัดส่วน เพื่อ แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับต้องกระทำในที่ประชุมใหญ่เท่านั้น

  22. สมาชิกรัฐสภาทุกคน ย่อมเป็นสมาชิกหน่วย (สมาชิกรัฐสภาทุกคนต้องเสียค่าบำรุงหน่วยทั้ง 3 หน่วย ๆ ละ 100 บาทต่อปี ตามข้อบังคับหน่วยประจำชาติไทย) 1

  23. เป็นกรรมการหน่วย องค์ประกอบของกรรมการหน่วย โดยตำแหน่ง 1. ประธานรัฐสภา เป็นประธาน 2. รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธาน 3. รองประธานสภาผู้แทนราษฎร 4. รองประธานวุฒิสภา 5. ผู้นำฝ่ายค้านฯ 6. ประธานคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สผ. 7. ประธานคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สว. 2

  24. กรรมการบริหารหน่วยเลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่ จำนวน 14 คน โดยมีคุณสมบัติ : สมาชิกที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นในการประชุมระหว่างประเทศ องค์ประกอบของกรรมการบริหารหน่วยตามสัดส่วน : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร : สมาชิกวุฒิสภา 3

  25. ส.ส. ทั้งหมด 480 คน x กรรมการ 14 คน/หน่วย จำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด 630 คน ส.ว. ทั้งหมด 150 คน x กรรมการ 14 คน/หน่วย จำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด 630 คน วิธีคำนวณหาสัดส่วน 11 3 ทั้งนี้ จะมีการเลือกตั้งใหม่ทุก ๆ 2 ปี และทุกครั้งที่มีรัฐสภาชุดใหม่ 4

  26. การสรรหากรรมการบริหารหน่วยอื่นอีก 14 คน • สมาชิกรัฐสภาทั้งหมดมี 630 คน - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 480 = ได้รับจัดสรร 11 คนต่อหน่วย - สมาชิกวุฒิสภา160 = ได้รับจัดสรร 3 คนต่อหน่วย 5

  27. การสรรหากรรมการบริหารหน่วยอื่นอีก 14 คน -สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1. ประธานรัฐสภามีหนังสือถึงหัวหน้าพรรคการเมืองต่าง ๆ ที่ได้รับเลือกตั้ง 2. เพื่อให้คัดเลือกสมาชิกพรรคการเมืองเข้ามาเป็นกรรมการบริหารหน่วย ตามสัดส่วนที่พรรคการเมืองนั้น ๆ ได้รับจัดสรรมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคนั้น ๆ - กรณีที่พรรคการเมืองมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับการเลือกตั้งเข้ามา เมื่อคำนวณหาสัดส่วนแล้วไม่ถึง 1 คน ต้องพิจารณาร่วมกันคัดเลือก สมาชิกของพรรคใดพรรคหนึ่งเข้ามาเป็นตัวแทน การคำนวณหาสัดส่วนของพรรคการเมืองจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมือง x 14 (กรรมการบริหารหน่วย จำนวน 14 คน)480 (จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร) 6

  28. การสรรหากรรมการบริหารหน่วยอื่นอีก 14 คน - สมาชิกวุฒิสภา ประธานรัฐสภามีหนังสือถึงประธานวุฒิสภาเพื่อให้คัดเลือกสมาชิกวุฒิสภาเข้ามาเป็นกรรมการบริหารหน่วยในสัดส่วนที่ได้รับ คือ หน่วยละ 3 คน เมื่อคัดเลือกสมาชิกรัฐสภาได้ครบจำนวนแล้ว พรรคการเมืองและวุฒิสภาจะส่งรายชื่อมายังสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 7

  29. การเลือกตั้งตำแหน่งภายในคณะกรรมการบริหารหน่วยฯการเลือกตั้งตำแหน่งภายในคณะกรรมการบริหารหน่วยฯ 1. เลขาธิการหน่วยฯ 2. เหรัญญิก 3. ผู้สอบบัญชี 4. และตำแหน่งอื่น ๆ ตามที่หน่วยฯ กำหนด วาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปี 8

  30. พ้นจากตำแหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออกโดยยื่นหนังสือต่อประธานหน่วย 3. ครบวาระ 4. พ้นจากสมาชิกภาพแห่งรัฐสภา กรณีพ้นจากตำแหน่งตามข้อ1 และข้อ 2 ให้ประธานหน่วยจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกหน่วยในโอกาสแรก และต้องดำรงตำแหน่งเท่าวาระของกรรมการหน่วยที่ตนแทน 9

  31. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเสนอ ขอนัดประชุมใหญ่สามัญประจำปีต่อประธานรัฐสภา จัดทำระเบียบวาระ การประชุม จัดทำรายงานการประชุม ในรอบปี จัดทำงบดุลประจำปี ส่งหนังสือเชิญสมาชิกรัฐสภา เพื่อเข้าร่วมประชุม ประชุมสามัญประจำปี 17

More Related