350 likes | 598 Views
GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM (GFMIS). ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์. สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง. ขอบเขตเนื้อหาการบรรยาย. . ความหมาย GFMIS ระบบ SAP ระบบ GFMIS
E N D
GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM (GFMIS) ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง
ขอบเขตเนื้อหาการบรรยายขอบเขตเนื้อหาการบรรยาย ความหมาย GFMIS ระบบ SAP ระบบ GFMIS การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS - สิทธิการใช้งานในระบบ GFMIS - ระบบงบประมาณ - ระบบจัดซื้อจัดจ้าง - ระบบเบิกจ่าย - ระบบสินทรัพย์ถาวร - ระบบการรับและนำส่งเงิน - ระบบบัญชีแยกประเภท ข้อมูลในระบบ GFMIS รายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักบริหารการเงินการคลังหลักบริหารการเงินการคลัง 3 หลักการบริหารการเงินการคลัง 2 • 1. การบริหารการเงินการคลังของส่วนราชการ • 1.1 ระบบงบประมาณ • 1.2 ระบบการเงิน • 1.3 ระบบจัดซื้อ/จ้าง • 1.4 ระบบบัญชี • 2. การบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) • 2.1 การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS • 2.2 ภาพรวม GFMIS 1 การบริหารการเงินการคลัง ของส่วนราชการ
ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ มารู้จัก GFMIS กันเถอะ ความหมาย GFMIS GGovernment เป็น เครื่องมือ ในการเพิ่มประสิทธิภาพ การ บริหารงานการคลัง ภาครัฐ และ สามารถใช้เป็น ข้อมูลในการตัดสินใจ เกี่ยวกับนโยบายการคลัง ( ซึ่งเป็นนโยบายทางเศรษฐกิจที่รัฐบาลใช้เป็นเครื่องมือในการกระตุ้นเศรษฐกิจ และรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ) ได้อย่างทันท่วงที FFiscal M Management I Information SSystem 4
การบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 1 ตุลาคม 2547 - 6 พฤศจิกายน 2549 7 พฤศจิกายน 2549
เป้าหมายสำคัญ • มีระบบการวางแผน และการบริหารงบประมาณ • 2. มีระบบข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง • มีระบบการรับเงินและนำเงินส่งคลัง • มีระบบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง • มีระบบบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง • 6. มีระบบฐานข้อมูลหลักเพื่อใช้กำกับติดตามและประเมินผล • 7. มีระบบงานและระบบเครือข่ายในรูปแบบรวมศูนย์
Environment Skills Processes แยกเป็นส่วนๆ เชื่อมโยงบูรณาการ บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
System Applications Products in Data Processing SAP • เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่กำหนดให้ระบบงานมีความเชื่อมต่อในฐานข้อมูลเดียวกัน (ของประเทศเยอรมนี) • การบันทึกรายการเป็นแบบ Online Real Time สามารถตรวจสอบ ติดตามสถานะของข้อมูล และรายงานได้โดยไม่ต้องรอให้ปิดบัญชี • การตรวจสอบหรือวิเคราะห์ข้อมูลสามารถทำได้ทั้งบนหน้าจอ หรือจากการพิมพ์ • มีความยืดหยุ่นในการปรับระบบให้เหมาะสมกับความต้องการของหน่วยงาน • ขั้นตอนการทำงานของทุกระบบเป็นมาตรฐานเดียวกัน
User เป็นผู้บันทึก Data 2 Transaction Data 1 Master Data SAP Component Program 5 Customized Program 3 Authorization Configuration 4 Function Configuration IT เป็นผู้ดูแล
หน่วยงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบหน่วยงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบ จัดทำยุทธศาสตร์ แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้านICT ร่วมออกแบบระบบงาน กำกับดูแล/ดำเนินการทดสอบ กำกับดูแล/ดำเนินการพัฒนา Authorization Configuration, Function Configuration และ CustomizedProgram สนับสนุนการฝึกอบรม กำกับดูแล/ดำเนินการงานปฏิบัติการศูนย์คอมพิวเตอร์ ด้าน Hardware Software Network และ Security สป.กค. IT กำหนดและกลั่นกรองความต้องการ ออกแบบระบบงาน ดำเนินการทำ UAT กำกับและอนุมัติการ Transport Authorization Configuration Function Configuration และ Customized Program ไปที่ Production System จัดฝึกอบรมการปฎิบัติงาน GFMIS ที่มีการพัฒนาใหม่ (New Function Training) ให้กับ Trainer Designer บก. ลงทะเบียนผู้ใช้งาน สร้าง User ID Registrar จัดฝึกอบรมการปฏิบัติงาน GFMIS ที่ใช้อยู่ปัจจุบัน (Refresh Training) จัดฝึกอบรมการปฏิบัติงาน GFMIS ที่มีการพัฒนาใหม่ (New Function Training) ให้แก่ผู้ใช้งาน Trainer Helper แก้ไขปัญหาและให้คำปรึกษาแก่ผู้ใช้งาน บันทึกข้อมูล Master Data และ Transaction Data เรียกใช้ข้อมูล User หน่วยงาน
การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS 1. หน่วยงานที่มีเครื่อง GFMIS Terminal อุปกรณ์ที่ได้รับ Smart Reader (ที่อ่านบัตร Smart Card) บัตร GFMIS Smart Card เครื่อง GFMISTerminal วิธีการใช้งาน
การเข้าใช้งานในระบบ GFMIS(GFMIS Smart Card)
การเข้าใช้งานในระบบ GFMIS(GFMIS Smart Card)
การเข้าใช้งานในระบบ GFMIS(GFMIS Smart Card)
การเข้าใช้งานในระบบ GFMIS(GFMIS Smart Card)
การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS 2. หน่วยงานที่ไม่มีเครื่อง GFMIS Terminal ปฏิบัติงานบนระบบ Web Online 1) บันทึกผ่านเครือข่าย Internet 2) บันทึกผ่านเครือข่าย Intranet - ใช้ User name และ Password อุปกรณ์ที่ได้รับ คือ GFMIS Token Key 4 ตัว Token Key (1หน่วยเบิกจ่าย) 1. บันทึกข้อมูล สีขาว 2. อนุมัติขอเบิก (P1) สีฟ้า 3. อนุมัติจ่ายเงิน (P2) สีส้ม 4. อนุมัตินำส่งแทนกัน (P3) สีเขียว 3. หน่วยงานที่บันทึกผ่านทางระบบ Interface (ใช้เครื่อง GFMIS Terminal) 16
การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS วิธีการใช้งาน GFMIS Token Key(การเชื่อมโยงระบบ GFMIS ด้วย GFMIS Token Key) “เพียง 3 ขั้นตอนง่ายๆ ท่านก็สามารถเข้าใช้ระบบ GFMIS ได้อย่างปลอดภัยผ่านเครือข่าย Internet” 17
การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS 18
การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS 19
สิทธิการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (สำนักงานเลขานุการกรม - 0900400002) Terminal Web Online รหัสผู้ใช้งานผู้บันทึก (xxxxxxxxxxx10) ผู้บันทึก - บัตรปฏิบัติงาน ผู้อนุมัติ - บัตร “P”
สิทธิการปฏิบัติงานในระบบ GFMISWeb OnlineInternet (ส่วนภูมิภาค – Token Key9หน่วยเบิกจ่าย) ผู้บันทึก ผู้อนุมัติ รหัสผู้ใช้งาน (XXXXXXXXXX10) รหัสผู้ใช้งาน (XXXXXXXXXX01) ผู้อนุมัติเบิก P1 -ใช้สำหรับการอนุมัติเบิกเงิน รายการ ขอเบิกเงิน ผู้อนุมัติ รหัสผู้ใช้งาน (XXXXXXXXXX02) ผู้อนุมัติจ่ายเงิน P2 -ใช้สำหรับการอนุมัติการจ่ายเงิน รายการขอเบิกเงิน ผู้บันทึก ผู้บันทึก รหัสผู้ใช้งาน (XXXXXXXXXX30) รหัสผู้ใช้งาน (XXXXXXXXXX20)
สิทธิการใช้งานระบบ Web Online บันทึกใบสั่งชื้อ/จ้าง บันทึกตรวจรับ บันทึกเอกสารสำรองเงิน ตส.สถานะเงิน งปม. กรณีบันทึกนำส่งรายได้แทนหน่วยงานอื่นต้องมีการอนุมัตินำส่งแทนกันด้วย ใช้ TK เขียว บันทึกจัดเก็บและนำส่งรายได้ บันทึกการขอเบิกเงิน ใช้ TK ฟ้า ใช้ TK ส้ม บันทึกรายการบัญชี / ปรับปรุงบัญชี บันทึกสร้างสินทรัพย์ / ล้างสินทรัพย์ 22
e-Procurement BIS DPIS AFMIS e-Payroll , e-Pension ของกรมบัญชีกลาง ของกรมบัญชีกลาง ของ สงป. ของ สกพ. (e-catalog,e-shopping list ของส่วนราชการ e-Auction) กระบวนงานในระบบ GFMIS MIS (ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย RP ระบบรับและนำส่งเงิน AP ระบบเบิกจ่าย FA ระบบสินทรัพย์ถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท CM ระบบบริหารเงินสด PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FM ระบบงบประมาณ CO ระบบต้นทุน HR ระบบทรัพยากรบุคคล 23
ระบบ GFMIS FM : ระบบบริหารงบประมาณ PO :ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FI :ระบบการเงินและบัญชี 1. ระบบข้อมูลด้านปฏิบัติการ Software SAP R/3 AP :ระบบการเบิกจ่ายเงิน RP :ระบบรับและนำส่งเงิน 2. ระบบข้อมูลด้านการบริหาร Business Warehouse GL :ระบบบัญชีแยกประเภท FA :ระบบสินทรัพย์ HR:ระบบบริหารบุคคล MIS EIS CO : ระบบต้นทุน 24
กระบวนงานในระบบ GFMIS FM : Fund Management System ระบบบริหารงบประมาณ PO: Purchasing Order System ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FI : Financial Accounting System ระบบการเงินและบัญชี CO : Controlling System ระบบบัญชีต้นทุน HR : Human Resource Management Systemระบบทรัพยากรบุคคล 25
กระบวนงานในระบบ GFMIS RP: Receipt Process System ระบบรับและนำส่งเงิน AP: Account Payable System ระบบการเบิกจ่ายเงิน FA: Fixed Asset Management System ระบบสินทรัพย์ถาวร GL: General Ledger System ระบบบัญชีแยกประเภท CM: Cash Management System ระบบบริหารเงินสด 26
ติดตามการใช้จ่าย งบประมาณและผลผลิต ตัวชี้วัดที่เป็นคุณภาพ เวลา และปริมาณ • การวางแผนและ • จัดทำงบประมาณ • ยุทธศาสตร์กระทรวง • และหน่วยงาน : Function • ยุทธศาสตร์ที่ได้รับ • มอบหมาย : Agenda • ยุทธศาสตร์พื้นที่ • (กลุ่มจังหวัด จังหวัด • ภารกิจต่างประเทศ) : Area GFMIS GFMIS EvMIS BIS • การบริหารงบประมาณ • การทำแผนปฏิบัติงาน/ • แผนการใช้จ่ายงบประมาณ • การจัดสรรงบประมาณ • การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ • การตรวจสอบงบประมาณในระบบ • โดยอัตโนมัติ เมื่อบันทึกรายการเบิกจ่าย • การบันทึกบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง ติดตามการใช้จ่าย งบประมาณและผลผลิต เฉพาะตัวชี้วัดที่เป็นต้นทุน ภาพรวม ระบบงบประมาณ 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ 3.ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต การติดตามงบประมาณ การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ ระบบข้อมูลการบริหาร ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ ภาครัฐ (GFMIS) กระบวนการบริหารงบประมาณ 2. ระบบการบริหาร งบประมาณ เบิกจ่าย แบบอิเล็กทรอนิกส์ และบันทึกบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง 27
3 คณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ และ นำเสนอรัฐสภา 2 สำนักงบประมาณ พิจารณาและจัดทำรายละเอียด งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ 4 รัฐสภา ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ BIS BIS BIS พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี 1 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ จัดทำรายละเอียดคำของบประมาณและ ประมาณการรายได้ ส่งให้สำนักงบประมาณ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี Fund Management System ระบบบริหารงบประมาณ FM 5 28
2 ส่วนราชการ จัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยเบิกจ่าย ในส่วนกลางและภูมิภาค/จังหวัด 1 3 สำนักงบประมาณ พิจารณาอนุมัติจัดสรรเงินงวด ให้ส่วนราชการ ส่วนราชการ ส่วนราชการส่วนกลางและในภูมิภาคบันทึกขอเบิกหรือบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ โดยระบบจะตรวจสอบงบประมาณให้อัตโนมัติ การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ 29
โครงสร้างการเก็บข้อมูลโครงสร้างการเก็บข้อมูล รหัสแหล่งของเงิน Fund รหัสที่แสดงแหล่งที่มาของเงินทุน รหัสงบประมาณ FUND Center รหัสที่แสดงมูลค่างบประมาณ แยกตามหน่วยงาน งาน/โครงการ รหัสกิจกรรมหลัก Functional Area รหัสมูลค่างบประมาณแยกตามพื้นที่ รหัสบัญชีงบประมาณ Commitment Items รหัสที่สอดคล้องกับรหัสบัญชีแยกประเภท รหัสหน่วยรับงบประมาณ Funded Program รหัสหน่วยรับประมาณ 10 หลัก 30
รหัสแหล่งของเงิน (Fund) ใช้แสดงแหล่งที่มาของเงินทุน มี 3 ประเภท 1. เงินในงบประมาณ YY A B C DD แสดง หมวดรายจ่าย (สำหรับเงินในงบฯ) 1: งบบุคลากร 2: งบดำเนินงาน 3: งบลงทุน 4: งบอุดหนุน 5: งบรายจ่ายอื่น แสดง งบรายจ่าย 0: งบกลาง 1: งบส่วนราชการ 9: รายการอื่น 1: เงินในงบประมาณ 31 แสดง ปีงบประมาณ
รหัสงบประมาณ (Fund Center) XXXXXBPOPPZ Z Z ZZZ Running No. งบประมาณเบิกแทนกัน 1 – ครุภัณฑ์ < 1 ล. ที่ดินสิ่งก่อสร้าง <= 10 ล. 2 – ครุภัณฑ์ > 1 ล. ที่ดินสิ่งก่อสร้าง >= 10 ล. รหัสผลผลิต/โครงการ รหัสหน่วยงาน ประเภทรายการ 0 – งบประจำ 1 – ครุภัณฑ์ 4 – ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง 5 – อุดหนุนทั่วไป 6 – อุดหนุนเฉพาะกิจ 7 – รายจ่ายอื่น รหัสแผนงาน/ แผนงบประมาณ 32
รหัสกิจกรรมหลัก (Functional Area) รหัสอำเภอ (สำหรับอนาคต) กิจกรรมหลักตาม สงป. รหัสหน่วยงาน รหัสพื้นที่ รหัสจังหวัด 33 • กรณีเงินนอกงบประมาณ การบันทึกค่าใช้จ่ายหรือ PO ให้ระบุรหัสกิจกรรมหลัก 5 หลัก P XX 00 ตัวอย่าง P1000 ส่วนกลาง P5000 เชียงใหม่ กรณีเงินงบประมาณ การบันทึกค่าใช้จ่ายหรือ PO ให้ระบุรหัสกิจกรรมหลัก 14 หลัก XXXXXBBBB XXXXX ตัวอย่าง700111200D6793 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน