190 likes | 378 Views
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 “บทว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย”. นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. ประเด็นการนำเสนอ. ประเด็นแรก. ประเด็นที่สอง. ประเด็นสุดท้าย. เรียนรู้ มหาวิกฤติอุทกภัย 2554.
E N D
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 “บทว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย” นายวิบูลย์ สงวนพงศ์อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ประเด็นการนำเสนอ ประเด็นแรก ประเด็นที่สอง ประเด็นสุดท้าย • เรียนรู้ มหาวิกฤติอุทกภัย 2554 • แนวโน้มสถานการณ์อุทกภัยและดินโคลนถล่ม • แผน ปภ.ช. 2553 – 2557 บทว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำ
เหตุการณ์มหาวิกฤติอุทกภัย 2554 พื้นที่ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับผลกระทบ สูญหาย เสียชีวิต • 4,086,138 • ครัวเรือน • 13,595,192 คน • 815 คน • 3 คน • 65 จังหวัด • 684 อ. • 4,920 ต. • 43,636 ม. ประมาณการความเสียหาย ระดับ ความรุนแรง • สร้างความสูญเสีย • สูงเป็นลำดับ 4 • ของโลก • 1.44 ล้านล้านบาท • (ธนาคารโลก)
แนวโน้มสถานการณ์อุทกภัยและดินโคลนถล่มแนวโน้มสถานการณ์อุทกภัยและดินโคลนถล่ม - ที่ไหน? - รุนแรงเพียงใด? ครั้งต่อไป เมื่อไหร่... 2545 ในพื้นที่ 10 จังหวัด 156 อำเภอ 26 กิ่งอำเภอ 809 ตำบล 3,907 หมู่บ้าน จังหวัดร้อยเอ็ดเสียหายมากที่สุด 2550 พายุไต้ฝุ่น Lekima ในพื้นที่ 17 จังหวัด ภาคเหนือ และอีสาน 2554 มหาวิกฤติอุทกภัยในพื้นที่ 65 จังหวัด 684 อำเภอ 4,920 ตำบล 43,636 หมู่บ้าน 2549 อุทกภัยในพื้นที่ 5 จังหวัด ทางภาคเหนือ ได้แก่ จ.อุตรดิตถ์ จ.สุโขทัย จ.แพร่ จ.ลำปาง และ จ.น่าน 2553 เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ รวม 53 จังหวัด 576 อำเภอ 4,066 ตำบล 33,181 หมู่บ้าน
แผน ปภ.ช. 2553 – 2557“บทว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย”
การเชื่อมโยงกลไกการจัดการสาธารณภัยขององค์กรภายใต้ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐ ( กปภ.ช.)กับองค์กรการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (กนอช. และ กบอ.) การป้องกัน การเตรียมความพร้อม การรับมือ การฟื้นฟู/เยียวยา คณะอนุกรรมการ 6คณะ กยน. ที่ปรึกษา กปภ.ช. กนอช. บก.ปภ.ช. บูรณาการ ๑๗ กระทรวง บูรณาการ 17 กระทรวง ข้อมูล/นโยบาย ด้านน้ำ/อุทกภัย ศอร.ปภ.ช กบอ. หน่วยปฏิบัติการส่วนหน้า ในพื้นที่รับผิดชอบ คลังข้อมูล War Room สบอช. องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร ศปภ. เขต 18 เขต หน่วยงานของรัฐ กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด กอ.ปภ.กทม. หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด/อำเภอ ภาคเอกชน/องค์กรการกุศล กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง กอ.ปภ. เมืองพัทยา
การบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยในภาวะปกติการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยในภาวะปกติ การป้องกัน การเตรียมความพร้อม การรับมือ การฟื้นฟู/เยียวยา คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์เพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) คณะกรรมการนโยบายน้ำและ อุทกภัยแห่งชาติ (กนอช.) คณะกรรมการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช) คณะอนุฯ 5 คณะ + ศูนย์อำนวยการร่วมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ(ศอร.ปภ.ช.) คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) ประสานข้อมูลสถานการณ์น้ำ • War room • คลังข้อมูล • การพยากรณ์ • - การเตือนภัย สำนักงานนโยบายและบริหาร จัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (สบอช.) ศูนย์บัญชาการส่วนหน้า ศูนย์บัญชาการส่วนหน้า หน่วยงานของรัฐ องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร/ภาคเอกชน กอ.ปภ.กทม. กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด ศปภ.เขต 18 เขต สำนักวิชาการและวิเคราะห์โครงการ ศูนย์ปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานเลขาธิการ สำนักติดตามและ ประเมินผล สำนักส่งเสริมการมี ส่วนร่วมและมวลชนสัมพันธ์ กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ. เมืองพัทยา กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง
การเผชิญเหตุและบัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 1 (ขนาดภัยร้ายแรงน้อย) อุทกภัยขนาดเล็ก: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล / อบต./เมืองพัทยา)สามารถควบคุมสถานการณ์ ระงับภัยได้โดยลำพังตามขีดความสามารถไม่ต้องการกำลังสนับสนุนจากภายนอกผู้อำนวยการท้องถิ่น/ผู้อำนวยการอำเภอเป็นผู้ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.เทศบาล (2,010 แห่ง) กอ.ปภ.อบต. (5,765 แห่ง) กอ.ปภ.อำเภอ ( 878 อ.) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) สนับสนุนการปฏิบัติ สนับสนุนการปฏิบัติ นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) นายกเมืองพัทยา (เป็นผู้อำนวยการ) นายกเทศมนตรี (เป็นผู้อำนวยการ) ซึ่งกันและกัน ซึ่งกันและกัน พื้นที่ประสบภัย พื้นที่ประสบภัย พื้นที่ประสบภัย กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การเผชิญเหตุและบัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 2 (ขนาดภัยร้ายแรงปานกลาง) อุทกภัยขนาดกลาง: เกินขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต./เมืองพัทยา) อำเภอ (นายอำเภอ) และเขตใน กทม. ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และบริหารจัดการระงับภัยได้โดยลำพัง ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) / ผู้อำนวยการ กทม. (ผู้ว่าราชการ กทม.) กรณีในพื้นที่ กทม. เข้าควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กอ.ปภ.กทม. ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.เทศบาล ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การเผชิญเหตุและบัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 3 (ขนาดภัยร้ายแรงสูง) อุทกภัยขนาดใหญ่ : เกิดผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง มีพื้นที่เสียหาย เป็นบริเวณกว้าง เกินขีดความสามารถของจังหวัด ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ/อุปกรณ์พิเศษ/กำลังสนับสนุนระดมสรรพกำลังทุกภาคส่วน เพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉิน/บรรเทาภัย ผู้อำนวยการกลาง (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย) หรือผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (รมว.มท.) เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ กนอช. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. สนับสนุนข้อมูล กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กอ.ปภ.กทม. ส่วนสนับสนุน กบอ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ผบ.ปภ.ช.) การเตือนภัย สบอช. ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) กนอช. หมายถึง คณะกรรมการนโยบายน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ กบอ. หมายถึง คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย สบอช. หมายถึง สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย แห่งชาติ ผบ.ปภ.ช. หมายถึง ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กอ.ปภ.เทศบาล กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เมืองพัทยา (2,010 แห่ง) (5,765 แห่ง) นายกเมืองพัทยา นายกเทศมนตรี นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ)
การเผชิญเหตุและบัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 4 (ขนาดภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง) อุทกภัยขนาดใหญ่มาก: เกิดผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับวิกฤติการณ์ มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน ความเป็นอยู่และขวัญกำลังใจของประชาชนจำนวนมากอย่างร้ายแรง ผู้อำนวยการกลาง (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) หรือ ผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (รมว.มท.) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์/แก้ไขปัญหา/ระงับภัยได้ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายใช้อำนาจตาม ม.31 แห่ง พ.ร.บ.ปภ. 2550 ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ทุกพื้นที่ทั่วราชอาณาจักร นายกรัฐมนตรี กนอช. Single Command (ผู้บัญชาการเหตุการณ์) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด กอ.ปภ.กทม. กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กบอ. สนับสนุนข้อมูล กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) สบอช. ส่วนสนับสนุน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ผบ.ปภ.ช.) การเตือนภัย ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) กนอช. หมายถึง คณะกรรมการนโยบายน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ กบอ. หมายถึง คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย สบอช. หมายถึง สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย แห่งชาติ ผบ.ปภ.ช. หมายถึง ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กอ.ปภ.เทศบาล กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เมืองพัทยา (2,010 แห่ง) (5,765 แห่ง) นายกเมืองพัทยา นายกเทศมนตรี นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ)
การปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สรุป • ปฏิบัติงานแบบบูรณาการตามระบบ • Single Command • ทำงานเชิงรุกแข่งกับเวลา • เตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สาย ด่วน นิรภัย 1784 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์ เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือ หัวใจ กรม ปภ.