190 likes | 486 Views
การดำเนินงานของสหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด. โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร. สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด. ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 ที่ตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
E N D
การดำเนินงานของสหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร
สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 ที่ตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทรศัพท์ 034 281 683 โทรสาร 034 352 055
การผลิต • เนื้อโคขุนคุณภาพสูง เพื่อทดแทนการนำเข้า • ปัจจุบันผลิตอยู่ปีละ 1,500 ตัว มูลค่า 50.5 ล้านบาท • โคที่ลงทะเบียนเพื่อการหมุนเวียน 1,800 ตัว • จำนวนฟาร์มสมาชิกที่ขุน 55 ฟาร์ม • สมาชิกสหกรณ์ 183 คน
การตลาด • แบร์นสินค้า KU Beef • สโลแกน “เนื้อนุ่ม จากโคหนุ่ม ไขมันน้อย” • จำหน่ายเป็นเนื้อซากเย็น (Chill Carcass) • จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนใหญ่ (Wholesale Cut) • จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนย่อย (Retail Cut)
ลูกค้า • ห้างโมเดินเทรด • เทสโก้โลตัส • คาร์ฟูร์ • เดอะมอลล์ • ตั้ง ฮั้ว เส็ง • ผู้ประกอบการ • บริษัท โชคชัย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด • บริษัท บาร์บีคิวพลาซ่า • บริษัท วอนนิวไทย • บริษัท ไทยพรีเมี่ยม • บริษัท เอฟแอนด์บี ฟูดส์ เซอร์วิซ • บริษัท การบินไทย • บริษัท บีเอ็ม ควอลิตี้ฟูดส์ จำกัด
การขุน • ลงทะเบียนที่น้ำหนัก • ระยะการขุน 8-10 เดือน • อาหารข้น หรืออาหารผสมเสร็จ (TMR) • น้ำหนักที่เข้าฆ่า 550-650 กิโลกรัม • สมาชิกสหกรณ์มีกำไรประมาณการตัวละ 5,000-8,000 บาท
ปัญหาการผลิต • อาหารสัตว์มีราคาสูง • ตัวโคก่อนเข้ากระบวนการขุนหาซื้อยาก และมีราคาแพง • ระบบการผลิตโคเนื้อ • วัคซีน
ปัญหาการตลาด • การเปิดการค้าเสรี • เนื้อลักลอบนำเข้า • การประชาสัมพันธ์ในเรื่องเนื้อคุณภาพ • ภาพลักษณ์ (Image) ของเนื้อโคไทย • ข่าวเกี่ยวกับโรคระบาด • จุดจำหน่ายเนื้อโคขุนของสหกรณ์ • ระเบียบและกฎหมาย เช่น ห้ามฆ่าโคเพศเมีย การเคลื่อนย้ายสัตว์
อนาคตของสหกรณ์ฯ ปี 2550 • การผลิตเนื้อโคขุน ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 180 ตัว • มีโรงฆ่าสัตว์พร้อมห้องเย็นใหม่ • มีจุดจำหน่ายเนื้อโคขุน (Butcher Shop) ของสหกรณ์เอง 2 จุด • ใช้วิธีการจัดจำหน่ายเนื้อในรูปแบบใหม่ เช่น traceability • มีการผลิตสินค้า เนื้อโคขุนร่วมกับเจ้าของแบรนด์ เช่น Natural Beef • ปรับปรุงระบบการจัดการขนส่ง (logistic) • มีการทำงานร่วมกับเครือข่ายต่างๆ
การวางระบบเครือข่ายในจังหวัดการวางระบบเครือข่ายในจังหวัด เครือข่ายกลางน้ำ ผู้ซื้อลูกโคอย่านม จากเครือข่ายต้นน้ำ มาเลี้ยงในแปลงหญ้า เครือข่ายต้นน้ำ ผู้เลี้ยงแม่พันธุ์ เพื่อผลิตลูก เครือข่ายปลายน้ำ ผู้ซื้อโคจาก เครือข่ายกลางน้ำ เข้าสู่ระบบขุน เครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ ผู้ผลิตนาหญ้า ผู้ปลูกมันสำปะหลัง
การสร้างเครือข่าย (Cluster) • กระตุ้นและส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม • วิเคราะห์สถานภาพของเครือข่าย เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย • กำหนดยุทธศาสตร์ของแต่ละเครือข่าย • ปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์
ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัดในการสร้างเครือข่ายธุรกิจโคเนื้อประโยชน์ที่เห็นเด่นชัดในการสร้างเครือข่ายธุรกิจโคเนื้อ • ลดต้นทุนการจัดซื้อ • แบ่งหน้าที่และร่วมผลิตสินค้าตามลักษณะพื้นที่ที่ใช้เลี้ยงโค • แบ่งภาระค่าใช้จ่าย ค่าบริหารจัดการ • ร่วมกันเจรจาต่อรองตกลงได้ • ร่วมกันทำการตลาด การขาย แบ่งผลกำไร • ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐได้สะดวก เช่น สปก., สศก. เป็นต้น
แนวทางการร่วมเป็นเครือข่ายสหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด • เครือข่ายในการผลิตลูกโคจำหน่ายให้กับสหกรณ์ • เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนโคในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ • เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์
เครือข่ายในการผลิตลูกโคจำหน่ายให้กับสหกรณ์เครือข่ายในการผลิตลูกโคจำหน่ายให้กับสหกรณ์ • ต้องเป็นโคอย่านมน้ำหนักใกล้เคียงกัน • จำนวนพอเพียงต่อการจัดระบบขนส่ง • มีคอกรวมโคจำหน่ายเพื่อสะดวกในการคัดเลือก • ต้องแจ้งจำนวนโคที่จะจำหน่ายล่วงหน้า 1 เดือน
เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯเครือข่ายในการเป็นผู้ขุนในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ • กลุ่มเครือข่ายต้องปฏิบัติตามระเบียบคู่มือการขุนของสหกรณ์ • กลุ่มเครือข่ายต้องรับผิดชอบและบริหารกันเอง • กลุ่มเครือข่ายต้องแจ้งให้สหกรณ์ทราบว่าจะสามารถผลิตโคขุนส่งให้สหกรณ์ฯ เดือนละกี่ตัว • สหกรณ์ฯ จะเป็นผู้กำหนดโควตาของกลุ่มเครือข่ายในการส่งโคให้สหกรณ์
เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ • เรื่องภาวะตลาดโคเนื้อในประเทศ • เรื่องผลกระทบตามข้อตกลงการค้าเสรี • เรื่องเงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • เรื่องภาวะอาหารสัตว์ • เรื่องพันธุ์โค • เรื่องตลาดโคเนื้อต่างประเทศ • เรื่องการประกวดพันธุ์โคเนื้อ
ความร่วมมือกับ สปก. ในปี 2550