330 likes | 794 Views
กรอบแนวทางการดำเนินงาน. อาหารปลอดภัย ( Food Safety). ธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข 8ว (02)590-4638,4180 tha@anamai.moph.go.th http:\foodsan.anamai.moph.go.th. นโยบาย 2547.
E N D
กรอบแนวทางการดำเนินงานกรอบแนวทางการดำเนินงาน อาหารปลอดภัย (Food Safety) ธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข 8ว (02)590-4638,4180 tha@anamai.moph.go.th http:\\foodsan.anamai.moph.go.th
นโยบาย 2547 * ครัวไทย ครัวโลก * ปีแห่งสุขภาพอนามัย * ปีอาหารปลอดภัย (Food Safety) * เมืองไทยสุขภาพดี(Healthy Thailand)
เมืองไทยสุขภาพดี (Healthy Thailand) 2547 มกราคม - ธันวาคม 2547
เป้าหมาย อาหารที่ผลิตและบริโภคภายในประเทศ มีความปลอดภัยในระดับสากล และเป็นครัวอาหารของโลก
สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste รายเขต แหล่งข้อมูล : กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วันที่ 29 ธันวาคม 2546
สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร จำนวนตลาดสดน่าซื้อรายเขต(ระดับ๓ดาวขึ้นไป) แหล่งข้อมูล : สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม วันที่ 1 ธันวาคม 2546
ตัวชี้วัดกระทรวง 1. ปัจจัยการผลิต ไม่มีสารปนเปื้อน 6 ชนิด 2. อาหารสดมีป้ายอาหารปลอดภัย 3. ตลาดสดมีป้ายตลาดสดน่าซื้อ 4. อาหารแปรรูปมีเครื่องหมาย อย. 5. ร้านอาหารและแผงลอยมีป้าย อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 6. สถานที่ผลิตอาหารได้มาตรฐาน GMP xx-x-xxx-x-xxxx
ตัวชี้วัดดำเนินงาน 1. เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรับปรุง ได้มาตรฐานร้อยละ 45 2. ตัวชี้วัดกรมอนามัย ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรับปรุงให้ ได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste ร้อยละ 30 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ ได้มาตรฐานท้องถิ่น ร้อยละ 45
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศปรับปรุงร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศปรับปรุง มาตรฐาน 8 ข้อ ครบ 100% ประกอบด้วย • 1. วางจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. • 2.ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร • 3.ผู้สัมผัสอาหารแต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ผูกผ้ากันเปื้อน • และสวมหมวก/เน็ทคลุมผม • 4.ผู้สัมผัสอาหารใช้อุปกรณ์หยิบจับอาหารพร้อมบริโภคทุกชนิด • 5.ต้องมีการปกปิดอาหารพร้อมบริโภคที่วางจำหน่าย • 6.ไม่แช่สิ่งของ/อาหารทุกชนิดในน้ำแข็งที่ใช้บริโภค • 7.ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยาล้างจาน ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร • และอุปกรณ์การล้างต้องสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. • 8.เก็บภาชนะอุปกรณ์ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้สูงจาก • พื้นอย่างน้อย 60 ซม.
กลยุทธ์ ประกอบด้วย 1 พัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยี 2 ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี 3 สนับสนุนการดำเนิน งานภาคีที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่สำคัญ ประกอบด้วย 1 รวบรวม วิเคราะห์ พัฒนา ศึกษา วิจัยองค์ความรู้ 2 พัฒนา ศึกษา วิจัย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 4 พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร บริการประชาชน 5 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้และเทคโนโลยี 6 พัฒนาศักยภาพภาคีร่วมดำเนินงาน 7 สนับสนุนภาคี จัดการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งาน เช่น งานมหกรรมอาหาร,เทศกาลต่างๆ 8 สนับสนุนภาคเอกชนพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการค้าอาหาร 9 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste ให้เป็นทางเลือกทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
แผนการดำเนินงาน ปี 2547 * ประชุมเร่งรัดการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ กุมภาพันธ์ สาธารณสุขจังหวัด * ประชุมภาคีชมรมทั่วประเทศ พฤษภาคม * จัดมหกรรมอาหารรายเขตและภาค ตลอดปี * เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ตลอดปี * จัดอบรมผู้ประกอบการค้าอาหาร 4 ภาค ตลอดปี * การติดตามประเมินผล เมษายน-กันยายน
ขั้นตอนการดำเนินงาน 30%/อำเภอ 2547 45% มาตรฐานท้องถิ่น มาตรฐาน 8 ข้อ 100% มาตรฐาน 5 ข้อ 100% 2546
เกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น * ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์พื้นฐานทางกายภาพ 15 ข้อ, แผงลอย จำหน่ายอาหาร 12 ข้อของกรมอนามัย * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดท้องถิ่น ที่มีข้อกำหนดได้เกณฑ์มาตรฐาน * สุ่มตรวจเพื่อรับรองมาตรฐาน แล้วแต่ท้องถิ่นกำหนด * ต่อมาตรฐานอายุ ทุกๆ 1 ปี ลงทะเบียน/รายงาน ขออนุญาติ ตรวจแนะนำ/อบรม ประเมิน
เกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste (ได้ป้าย Clean Food Good Taste ) * ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์พื้นฐานทางกายภาพ 15 ข้อ, แผงลอย จำหน่ายอาหาร 12 ข้อของกรมอนามัย * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านการตรวจเชื้อทางแบคทีเรีย ร้อยละ 90 ของการตรวจ 10 ตัวอย่างผ่านการตรวจด้วยน้ำยา SI-2 (อาหาร 5 ตัวอย่าง,ภาชนะ 3 ตัวอย่าง และมือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง) * สุ่มตรวจเพื่อรับรองมาตรฐาน ทุกๆ 2 เดือน * ต่ออายุ ทุกๆ 1 ปี
รับสมัคร ตรวจแนะนำ/อบรม แบบสำรวจ/น้ำยา/ผ้ากันเปื้อน ประเมินกายภาพ มาตรฐานท้องถิ่น ประเมินชีวภาพ SI-2 SI-2 ลงทะเบียน/รายงาน FSMIS FSMIS/E-INSPECTION สนับสนุนป้าย/ปชส WEB/PR/ป้าย มหกรรมอาหาร
เกณฑ์ข้อกำหนด 8 ข้อ * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนด 8ข้อ ของกรมอนามัย * ตรวจประเมินเพื่อรับรองทุกพื้นที่ สติกเกอร์ ลงทะเบียน/รายงาน รับรอง แบบสำรวจ ตรวจแนะนำ/อบรม ประเมิน
สิ่งสนับสนุน * ภาครัฐ 1. การประชาสัมพันธ์ 2. ป้ายมาตรฐาน Clean Food Good Taste 3. คู่มือและแบบสำรวจ 4. น้ำยา SI-2 * ภาคเอกชน 1. น้ำยาล้างจาน 2. ผ้ากันเปื้อน 3. สื่อเผยแพร่ต่างๆ
ระบบการประเมิน 1. Clean Food Good Taste 30% ต่ออำเภอ 1.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด (10% CFGT) ศูนย์ฯเขต สุ่มประเมินทุกจังหวัดในเขต(10 % CFGT) สสจ. ร่วมกับพื้นที่ประเมิน ทุก ๆ 2 เดือน (6 ครั้งครบ 100% CFGT)
1.2 การรายงาน สสจ. ระบบ E-Inspection รายงานรายเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report (http:\\Foodsan.anamai.moph.go.th) รายงานรายเดือน กอง สอ. - ประชุมกรมทุกเดือน - รายงานศูนย์ Food Safety
2. มาตรฐานท้องถิ่น 45 % 2.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด ศูนย์ฯเขต ประเมินทุกจังหวัดในเขต สสจ. ประเมินพื้นที่รับผิดชอบ 2.2 การรายงาน สสจ. E-Inspection รายงานทุกเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report กรมอนามัย ทุกเดือน กองสอ.และน้ำ - รายงานที่ประชุมกรมทุกเดือน - รายงานศูนย์ Food Safety
3. ข้อกำหนด 8 ข้อ 100 % 3.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด ศูนย์ฯเขต ประเมินทุกจังหวัดในเขต สสจ. ประเมินทุกพื้นที่รับผิดชอบ 3.2 การรายงาน สสจ.รายงานให้ศูนย์ฯ เขต ทุกเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report กรมอนามัย ทุกเดือน