130 likes | 261 Views
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ. ลุ่มน้ำมูล. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กันยายน 2548. การใช้ที่ดิน. แผนที่แสดงการใช้ที่ดิน (จัดรูปตามความเหมาะสม) (ป่าไม้ และเกษตร-พื้นที่ชลประทาน นิคมอุตสาหกรรม และชุมชนเมืองขนาดใหญ่). พื้นที่ 69,600 ตร.กม. หรือ 43.5 ล้านไร่
E N D
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ ลุ่มน้ำมูล กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กันยายน 2548
การใช้ที่ดิน แผนที่แสดงการใช้ที่ดิน(จัดรูปตามความเหมาะสม)(ป่าไม้ และเกษตร-พื้นที่ชลประทาน นิคมอุตสาหกรรม และชุมชนเมืองขนาดใหญ่) พื้นที่ 69,600 ตร.กม. หรือ 43.5 ล้านไร่ ครอบคลุม 10 จังหวัด จำนวน 15,354 หมู่บ้าน • พื้นที่ป่าไม้ ล้านไร่ ( %) • พื้นที่การเกษตร 26.59 ล้านไร่ (61%) • พื้นที่เหมาะสม 9.98 ล้านไร่ (23%) • พื้นที่ชลประทานแล้ว 1.87 ล้านไร่ (4%) ประชากร 9.77 ล้านคน ภาคการเกษตร ล้านคน หรือ ครัวเรือน
สภาพเศรษฐกิจ รูปพืชหลักด้านการเกษตร กราฟเปรียบเทียบรายได้กับลุ่มน้ำเจ้าพระยา รูปกิจกรรมที่ให้สัดส่วน GDP สูงสุด (เช่นภาคอุตสาหกรรมแต่หากเกษตรสูงสุดก็ใช้พืชหลัก) มูลค่า GDP= 300,788 ล้านบาท รายได้เฉลี่ย (บาท/ครัวเรือน/ไร่) กราฟเปรียบเทียบGDP ภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร (หากมี)
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย xxxx ม.ม./ปี คิดเป็น ล้าน ลบ.ม./ปี สภาพน้ำต้นทุน แผนที่ แสดงโครงข่ายแม่น้ำหลักและเขื่อนหลัก แสดงปริมาณน้ำฝน (ใช้ Isohyetal ให้เห็นถึงความแตกต่างในแต่ละพื้นที่หากแตกต่างกันมาก) แหล่งเก็บกักน้ำสูงสุด ล้าน ลบ.ม. (x1 %ของน้ำฝน)ปริมาณน้ำที่นำไปใช้ประโยชน์ ล้าน ลบ.ม./ปี (x2 %ของน้ำฝน) ปริมาณน้ำที่ไหลออกนอกลุ่มน้ำ ล้าน ลบ.ม./ปี (x3 %ของน้ำฝน)
ปริมาณน้ำต้นทุนy,yyy ล้าน ลบ.ม./ปี ความต้องการน้ำx,xxx ล้าน ลบ.ม./ปี แสดงกราฟแท่งอย่างง่ายในสภาพปัจจุบันและอนาคต20ปี(ทั้ง Demand และ Supply) 2568 2543 2548 2543 2548 สูงสุด ล้าน ลบ.ม.ต่ำสุด ล้าน ลบ.ม.เฉลี่ย ล้าน ลบ.ม. อุปโภค-บริโภค ล้าน ลบ.ม.การเกษตรทั้งหมด ล้าน ลบ.ม. ในเขตชป. ล้าน ลบ.ม.อุตสาหกรรม ล้าน ลบ.ม.ระบบนิเวศ ล้าน ลบ.ม.
สภาพปัญหาน้ำแล้ง-น้ำท่วม-คุณภาพน้ำสภาพปัญหาน้ำแล้ง-น้ำท่วม-คุณภาพน้ำ แผนที่แสดงบริเวณที่เกิดปัญหาน้ำแล้ง (ข้อมูลจากจังหวัด) น้ำท่วม (ภาพดาวเทียม) และน้ำเสีย (จากกรมควบคุมมลพิษ) ยกตัวอย่างพื้นที่และตัวเลขที่เกิดความเสียหายปีที่เคยเกิดสูงสุด และปีล่าสุด
ยุทธศาสตร์และกลยุทธการบริหารจัดการน้ำยุทธศาสตร์และกลยุทธการบริหารจัดการน้ำ กลยุทธ์ 1. แก้ไขปัญหาภัยแล้ง2. แก้ไขปัญหาน้ำท่วม3. แก้ไขปัญหาและ รักษาคุณภาพน้ำ4. เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการน้ำ 1. เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน2. พัฒนาแหล่งเก็บน้ำในฤดูฝน3. พัฒนาระบบกระจายน้ำ4. ปรับปรุงระบบ การบริหารจัดการน้ำ ยุทธศาสตร์
แผนงานและโครงการในลุ่มน้ำแผนงานและโครงการในลุ่มน้ำ บริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มปริมาณ น้ำต้นทุน เพิ่มการเก็บกักน้ำ พัฒนาระบบกระจายน้ำ ปลูก-ฟื้นฟูป่า/ฝายแม้ว ฝนหลวง ผันน้ำในลุ่มน้ำ พัฒนาระบบประปา อ่างเก็บน้ำ น้ำบาดาล พัฒนาระบบส่งและระบายน้ำ ปรับปรุงระบบชลประทาน ฝาย/ฝายยางในลำน้ำ ผันน้ำนอกลุ่มน้ำ ระบบป้องกันน้ำท่วมชุมชน/เกษตร แก้มลิง ผันน้ำ ต่าง ปท. ระบบป้องกันน้ำเสีย หนองน้ำธรรมชาติ ระบบความปลอดภัยเขื่อนและเตือนภัย อ่างฯประจำหมู่บ้าน หญ้าแฝก สระน้ำในไร่นา
แผนงานระยะเร่งด่วน แผนที่ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ แสดงแม่น้ำสายหลัก ตำแหน่งจังหวัด และตำแหน่งหัวงานโครงการ (ชื่อโครงการ) พื้นที่เป้าหมาย ใส่สีแดงแสดงตำแหน่ง แล้วพระพริบด้วย เป้าหมาย : อุปโภค/บริโภค หรือ การเกษตร หรือบรรเทาน้ำท่วม (แยกเป็นรายโครงการและรวมทั้งหมดด้วย)ปริมาณน้ำที่ได้ 3.5 ล้าน ลบ.ม.จำนวนครัวเรือนที่รับประโยชน์ 2,500 ครัวเรือนระยะเวลาดำเนินการ 6 เดือน (2548-2549)งบประมาณ 25 ล้าน บาท
แผนงานระยะสั้น แผนที่ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ แสดงแม่น้ำสายหลัก ตำแหน่งจังหวัด และตำแหน่งหัวงานโครงการ (ชื่อโครงการ) พื้นที่เป้าหมาย ใส่สีเขียว (กระพริบ) แสดงว่ามีเงินในปีงบประมาณ 2549 แล้ว สีดำ เป็นโครงการเสนอใหม่ ยังไม่มีเงิน มีความจำเป็น และสามารถเริ่มงานได้เดือนมกราคม 2549 และควรเสนอโครงการศึกษา สำรวจ ออกแบบ ในโครงการระยะยาวด้วย เป้าหมาย : อุปโภค/บริโภค หรือ การเกษตร หรือบรรเทาน้ำท่วมปริมาณน้ำที่ได้ 20 ล้าน ลบ.ม.จำนวนครัวเรือนที่รับประโยชน์ 12,500 ครัวเรือนระยะเวลาดำเนินการ 12 เดือน (2548-2549)งบประมาณ 250 ล้าน บาท
แผนงานระยะกลาง ทำเป็นตารางสรุป แยกเป็นประเภทโครงการได้แก่ สร้างแหล่งเก็บน้ำ การผันน้ำ ฝายในลำน้ำ ขุดลอกแหล่งน้ำ อ่างเก็บน้ำหมู่บ้าน แก้มลิง และอื่นๆที่สำคัญโดยระบุ output แและ outcomes ตามประเภทกลุ่มโครงการ ได้แก่ปริมาณน้ำที่ได้ xx ล้าน ลบ.ม.จำนวนครัวเรือนที่รับประโยชน์ xxxxx ครัวเรือนระยะเวลาดำเนินการ xx-xxx เดือน (2550-2552) (โครงการใดที่เสร็จหลังปี 52 ให้จัดอยู่ในงบปกติ)งบประมาณ 12,250 ล้าน บาท แผนที่ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ แสดงแม่น้ำสายหลัก ตำแหน่งจังหวัด และตำแหน่งหัวงานโครงการ พื้นที่เป้าหมาย โดยกระพริบไฟเมื่อเป็นโครงการเด่น (ควรให้มีโครงการศึกษา สำรวจ ออกแบบ ในโครงการระยะยาวด้วย)
แผนงานระยะยาว ทำเป็นตารางสรุป แยกเป็นประเภทโครงการได้แก่ สร้างแหล่งเก็บน้ำขนาดใหญ่ การผันน้ำ และอื่นๆที่สำคัญโดยระบุ output แและ outcomes ได้แก่ปริมาณน้ำที่ได้ xx ล้าน ลบ.ม.จำนวนครัวเรือนที่รับประโยชน์ xxxxx ครัวเรือน/หมู่บ้านงบประมาณ 55,550 ล้าน บาท (โดยประมาณ) แผนที่ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ แสดงแม่น้ำสายหลัก ตำแหน่งจังหวัด และตำแหน่งหัวงานโครงการ ลักษณะโครงการ และพื้นที่เป้าหมาย ซึ่งปีเริ่มต้น ของการดำเนินการตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไป
สรุป (2549-2552) โดยระบุ output/outcomes และ เงินแยกเป็นรายปี (49,50,51,52) ได้แก่ปริมาณน้ำที่ได้ xx ล้าน ลบ.ม.จำนวนครัวเรือนที่รับประโยชน์ xxxxx ครัวเรือนงบประมาณ yy,yyy ล้าน บาทพื้นที่ชลประทาน ล้านไร่รายได้ประชากรที่เพิ่มขึ้นเป็น บาท/ครัวเรือน/ปีผลตอบแทน เป็น NPV B/C EIRR (ถ้ามี) แผนที่ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ โดยที่ สีแดง กระพริบเป็นโครงการเร่งด่วน สีเขียวกระพริบเป็นโครงการระยะสั้น (ที่มีเงินปี 49 แล้ว) สีดำ พระพริบ เป็นโครงการระยะสั้น ยังไม่มีเงิน สีดำ เป็นโครงการระยะกลางและระยะยาว