1 / 55

การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร

การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร. ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์. แหล่งที่มาของพลังงาน. ของแข็ง-ถ่าน ถ่านหิน ไม้ แกลบ ของเหลว-น้ำมัน ก๊าซ NGV CNG LPG. ความรู้เรื่องถ่านหิน.

farrah
Download Presentation

การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กรการสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์

  2. แหล่งที่มาของพลังงาน • ของแข็ง-ถ่าน ถ่านหิน ไม้ แกลบ • ของเหลว-น้ำมัน • ก๊าซ NGV CNG LPG

  3. ความรู้เรื่องถ่านหิน ถ่านหิน (coal)มีสถานะเป็นของแข็ง ไม่มีรูปผลึกที่แน่นอน โดยทั่วไปมีสีเข้มตั้งแต่สีน้ำตาลถึงสีดำสนิท ประกอบด้วย คาร์บอน สารระเหย ความชื้น และแร่ธาตุต่างๆ ในปริมาณน้อย ถ่านหินเป็นทรัพยากร ธรรมชาติที่มีคุณค่ามากเพราะเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ และสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เป็นอย่างดี 3

  4. การกำเนิดถ่านหิน ถ่านหินเกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ใช้เวลาหลายล้านปีของซากพืช ภายใต้ความดันและความร้อนมาเป็นพีต (peat), ลิกไนต์ (lignite), ซับบิทูมินัส (sub bituminous), บิทูมินัส (bituminous) และแอนทราไซท์ (anthracite) ตามลำดับ ถ่านหินตามแหล่งต่างๆในโลกนี้ จึงมีคุณสมบัติต่างกันขึ้นกับชนิด ซากพืช อายุการเปลี่ยนแปลง และสภาพแวดล้อมของ แหล่งที่เกิด ที่มา: http://www.uky.edu/KGS/coal/coalform.htm 4

  5. flooded forest or swamp sediment lignite Peat coal

  6. การจำแนกถ่านหิน การจำแนกถ่านหินมีหลายระบบ ที่ใช้กันมากได้แก่ การจำแนกถ่านหินตาม rank ค่า rank เป็นการวัดค่าความสมบูรณ์ของการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่กลายเป็นถ่านหิน America Society for Testing Materials (ASTM) ได้กำหนดค่าสมบัติของถ่านหินเป็นเกณฑ์ในการจำแนกถ่านหินเป็น Anthracite, Bituminous , sub-bituminous และ lignite ที่มา: http://www.uky.edu/KGS/coal/coalkinds.htm 5

  7. การจำแนกถ่านหิน เปรียบเทียบธาตุองค์ประกอบ 11

  8. คำศัพท์เกี่ยวกับถ่านหินคำศัพท์เกี่ยวกับถ่านหิน VOLATILE MATTER คือ สารระเหย ( ก๊าซ และ Tar ) ที่อยู่ในถ่านหิน เป็นตัวกลางที่ทำให้ถ่านหินเกิดการติดไฟก่อนที่จะเผาไหม้ คาร์บอนซึ่งอยู่ในถ่านหิน ถ่านหินที่มีปริมาณ Volatile สูงจะทำให้ติดไฟง่าย และลุกไหม้อย่างรวดเร็วแต่ถ่านหินที่มีปริมาณ Volatile ต่ำจะเกิดการติดไฟยาก และลุกไหม้อย่างช้าๆ 15

  9. ค่าความร้อน(AD)  x   (100 - %Total Moisture) การคำนวณหาค่าความร้อน ( AR ) = (100 – %Inherent Moisture) การวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหิน การรายงานค่าความร้อน • As Receive (AR) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิดความร้อน ในขณะที่มีความชื้น Total Moisture จึงทำให้ค่าความร้อนที่ได้ต่ำที่สุดจึงเป็นค่าความร้อนในการใช้งานจริง 18

  10. การวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหินการวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหิน การรายงานค่าความร้อน • Air Dry (AD) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิดความร้อนหลังจากผ่านการอบ Free Moisture ออกจึงทำให้ ค่าความร้อนสูงกว่าในสภาวะ As Received ค่าความร้อนที่ได้นี้จะได้จากห้องทดลองเท่านั้น • Dry Basis (DB) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิด ความร้อนหลังจากผ่านการอบ Free Moisture และ Inherent Moisture ออกทั้งหมด จึงทำให้ค่าความร้อนที่ได้สูงมากค่าความร้อนที่ได้นี้จะได้จากห้องทดลองเท่านั้น 19

  11. แนวโน้มอุตสาหกรรม ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท ที่มา: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม 21

  12. แนวโน้มอุตสาหกรรม ปริมาณการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท 22

  13. แนวโน้มอุตสาหกรรม มูลค่าการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท 23

  14. ข้อมูลอ้างอิง กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ. 2545. การกำเนิดถ่านหิน (Online). http://www.dmf.go.th/petro_focus/coal.emerging.asp, 11 ตุลาคม 2551. บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน). 2551. ธุรกิจและผลิตภัณฑ์ (Online). http://www.umspcl.com/thai/business_analysis.php, 31 ตุลาคม 2551. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร, รองศาสตราจารย์ ดร. การจัดจำแนกชนิดถ่านหิน (Classification of Coals). ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (เอกสารไม่ตีพิมพ์) สันชัย รักจุล, นาย. 2551. พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) (Online). http://energy.skt.ac.th/Fossil%20Fuel1.html, 11 2551. The Kentucky Geological Survey, University of Kentucky. 2006. General Coal Information (Online). http://www.uky.edu/KGS/coal/coal_information.htm, 11 October 2008. 33

  15. การอนุรักษ์พลังงานและนโยบายพลังงานของไทยการอนุรักษ์พลังงานและนโยบายพลังงานของไทย

  16. การอนุรักษ์พลังงาน มนุษย์อาศัยพลังงานเพื่อการดำรงชีวิต อาหารทำให้เกิดพลังงานสะสมในร่างกาย และมนุษย์นำพลังงานนั้นไปใช้เครื่องไหวอวัยวะต่าง ๆ ต่อมา มนุษย์รู้จักใช้พลังงานจากสัตว์ให้ทำงานแทน รู้จักนำพลังน้ำ พลังงานลมมาใช้ประโยชน์ และยังพบว่าแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย ต่อมามนุษย์ค้นพบถ่านหิน ค้นพบของเหลวสีดำที่เรียกว่าน้ำมันดิบ และนำมากลั่นเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในปัจจุบัน

  17. การอนุรักษ์พลังงาน แหล่งพลังงาน แหล่งพลังงานที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์อย่างจริงจังมีด้วยกัน 8 แหล่ง คือ 1.พลังงานเคมี 2.พลังงานนิวเคลียร์ 3.พลังงานน้ำ 4.พลังงานจากแสงอาทิตย์ 5.พลังงานลม 6.พลังงานจากชีวมวล 7.พลังงานความร้อนใต้พิภพ 8.พลังงานจากทะเล

  18. การอนุรักษ์พลังงาน สถานการณ์การใช้พลังงาน

  19. การอนุรักษ์พลังงาน ตัวอย่างการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน การอนุรักษ์พลังงานโรงงาน ได้แก่ 1.การปรับปรุงประสิทธิภาพในการเผาไหม้เชื่อเพลิง 2.การป้องกันการสูญเสียพลังงาน 3.การนำพลังงานที่เหลือจากการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 4.การเปลี่ยนไปใช้พลังงานอีกประเภทหนึ่ง 5.การปรับปรุงการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธีปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า 6.การใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง 7.การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวง

  20. การอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ได้แก่ 1. การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร 2. การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมทั้งการรักษาอุณหภูมิภายในอาคารให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม 3. การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่จะช่วยอนุรักษ์พลังงาน ตลอดจนการแสดงคุณภาพของวัสดุก่อสร้างนั้น ๆ 4. การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ 5. การใช้และการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร 6. การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ 7. การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวง

  21. นโยบายพลังงานของไทย การกำหนดนโยบายพลังงานต้องก่อให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานภายในประเทศ โดยให้เกิดความสมดุลระหว่างความต้องการใช้พลังงานกับการจัดหาพลังงาน ซึ่งหลักการในการกำหนดนโยบายนั้นต้องมีความชัดเจน ให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมระบบการค้าเสรี และให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งประเทศไทยมุ่งเน้นนโยบายหลัก 4 ประการ

  22. นโยบายพลังงานของไทย นโยบายพลังงานของไทย 1.นโยบายด้านความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงาน 2.นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน 3.นโยบายราคาและการปฏิรูปตลาดพลังงาน 4.นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมพลังงาน

  23. นโยบายพลังงานของไทย 1.นโยบายด้านความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงาน 1.1การสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน • มีแหล่งสำรองพลังงานที่มีปริมาณเพียงพอและแน่นอน เพื่อความมั่นคงในการจัดหา • มีการกระจายแหล่งพลังงานและชนิดพลังงานเพื่อลด ความเสี่ยง โดยการหลีกเลี่ยงการพึ่งพาพลังงานจาก แหล่งเดียวหรือพลังงานชนิดเดียว • มีโครงสร้างราคาที่มีความเหมาะสม เป็นธรรม และ ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ • คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ ชุมชนและท้องถิ่น • ต้องใช้ทรัพยากรพลังงานภายในประเทศ ที่มีอยู่อย่าง จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเหมาะสมกับคุณค่าของ ทรัพยากร

  24. นโยบายพลังงานของไทย 1.2การปรับประเทศให้เป็นศูนย์กลางพลังงานในภูมิภาค • พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการค้าขายพลังงาน โดยปรับโครงสร้างและบทบาทจากผู้ซื้อมาเป็นผู้ค้าพลังงานในอนาคต • สร้างมูลค่าเพิ่มจากการซื้อขายพลังงานที่เพิ่มขึ้น • พัฒนาเส้นทางยุทธศาสตร์การขนส่งน้ำมันทางภาคใต้ของประเทศ

  25. นโยบายพลังงานของไทย 2.นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน 2.1แผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน • ศึกษา วิจัย พัฒนา และส่งเสริมเพื่อก่อให้เกิดการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้นในการผลิตไฟฟ้า ความร้อน และการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ เพื่อใช้ในภาคคมนาคมขนส่ง ภาคอุตสหกรรม บ้านอยู่อาศัย • เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านพลังงานหมุนเวียน • เผยแพร่ข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนทั่วไป ให้รู้จักพลังงานทดแทนและสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐ

  26. นโยบายพลังงานของไทย 2.2แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • ศึกษา วิจัยพัฒนา และส่งสริมเพื่อก่อให้เกิดการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในภาคคมนาคม ขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม บ้านอยู่อาศัย • เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • สร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้มีการใช้พลังงาน อย่างรู้คุณค่า

  27. นโยบายพลังงานของไทย 2.3แผนงานบริหารเชิงกลยุทธ์ • ศึกษาวิจัยเชิงนโยบายเพื่อเป็นขช้อเสนอแนะ ทางเลือกในการพัฒนาแผนพลังงานทดแทน และ แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • บริหารจัดการให้แผนอนุรักษ์พลังงานดำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการดำเนินงานอื่น ๆ ที่มีความสำคัญหรือ มีความเร่งด่วน

  28. นโยบายพลังงานของไทย 3.นโยบายราคาและการปฏิรูปพลังงานทดแทน 3.1การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 3.2การส่งเสริมการแข่งขันในธุรกิจพลังงาน 3.3การปราบปรามการค้าน้ำมันเถื่อน 3.4การกำจัดถังก๊าซหุงต้มที่ผิดกฏหมาย

  29. นโยบายพลังงานของไทย 4.นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมพลังงาน • ปรับปรุงกฏระเบียบเรื่องความปลอดภัยและเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อม • ขยายพื้นที่บังคับใช้น้ำมันเตากำมะถันต่ำ • ปรับปรุงข้อกำหนดคุณภาพน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล • แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากน้ำมันหล่อลื่น • ส่งเสริมให้มีการใช้เชื้อเพลิงสะอาดกับรถยนต์ • สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งมวลชน

  30. น้ำมันเชื้อเพลิง ไฟฟ้า และพลังงานอื่นๆ • เราสามารถลดปริมาณการใช้ได้ดี หากเราเข้าใจเชื้อเพลิงที่ใช้ในเชิง ปริมาณ คุณภาพ ต้นทุน และ เวลา

  31. ตัวอย่างการจัดทำแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงานตัวอย่างการจัดทำแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน • ความเป็นมา • นโยบายของรัฐบาล • นโยบายของ กทม. • สภาวะเศรษฐกิจ • แหล่งพลังงานลดน้อยลง

  32. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เป็นแนวทางการประหยัดพลังงาน • ของกรุงเทพมหานคร • 2. ข้อมูลในการศึกษาพัฒนาในเชิงลึก

  33. ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้องทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง • กฎของ Pareto ( 20 : 80 ) • การบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM) • การบริหารแบบมีส่วนร่วม • กระบวนการประหยัดพลังงานของกระทรวงพลังงาน • วิธีการคำนวณหน่วยไฟฟ้าเพื่อการประหยัด • การดูแลบำรุงรักษารถยนต์ • ผลการศึกษาดูงาน

  34. การประหยัดพลังงานในหน่วยงาน กระทรวง.... กรก. ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สนข...... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สนข...... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน ประหยัดพลังงาน 15 % สรุปผล สนข....... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน ศบส 4567 ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สยป. ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน

  35. กลยุทธ์ และแนวทางดำเนินการ • กำหนดมาตรการเฉพาะองค์กร • 1.1 มาตรการที่สามารถดำเนินการได้ทันที • 1.2 มาตรการสนับสนุน • ด้านบุคลากร • ด้านนวัตกรรมและการลงทุน

  36. มาตรการที่ปฏิบัติได้ทันทีมาตรการที่ปฏิบัติได้ทันที • ใช้รถเฉพาะในราชการ / ห้ามใช้เพื่อส่วนตัว • นโยบาย • เลือกใช้รถยนต์คันที่ประหยัดน้ำมันให้มากที่สุด • วางแผนก่อนเดินทาง • สนับสนุน • ส่งเอกสารราชการให้หน่วยงานภายนอกในกรณีไม่เร่งด่วน • หรือราชการไม่สำคัญ • ปรับปรุงยานพาหนะ • หลีกเลี่ยงทางที่การจราจรติดขัด และใช้เส้นทางลัดให้มากที่สุด

  37. มาตรการสนับสนุน • จัดให้มีอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบเติมลมยาง เป่ากรองอากาศ • แก้ไขกฎหมายระเบียบ • 3. นำเอาพลังงานทดแทนใช้แทนน้ำมัน • ด้านบุคลากร • สร้างจิตสำนึกโดยการจูงใจ และจัดให้มีการแข่งขันโดยมีรางวัลตอบแทน • 2. การดูแลรักษารถ • 3. ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน (Car Pool)

  38. ด้านนวัตกรรม • ปรับระบบเครื่องยนต์ให้นำก๊าซ NGV แก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซลใช้แทนน้ำมัน • ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการออกนอกเส้นทาง (GPS) • 3. ติดตั้งอุปกรณ์จำกัดความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

  39. สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 654 2,616 19,882 65,400 14,912 49,050 1,962 4,970 16,350

  40. สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 456 1,824 14,300 45,600 10,725 34,200 1,368 3,574 11,400 2,472 23,336 61,800 18,669 494 1,978 4,667 12,350 49,450

  41. สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 480 2,400 23,404 60,000 48,000 18,432 1,920 4,608 12,000

  42. สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 2,952 34,243 73,800 34,243 2,952 73,800 52,100 114,801 306,600 254,500 12,264 96,972 10,180 17,820 2,084

  43. สำนักงานเขต..... • มาตรการ • รูปธรรม • 1 .การปรับปรุงและวางแผนการเก็บขนมูลฝอย • 2. จัดเส้นทางการเดินรถ (Route Map) • 3. การกำหนดเวลาทิ้ง เวลาเก็บ • 4. กำหนดจุดพักขยะ • 5. การจัดขนาดรถให้เหมาะสมกับสถานที่ (ถนน, ซอย) มาตรการสนับสนุน 1. ต้องดูแลบำรุงรักษาเครื่องยนต์และอุปกรณ์เกี่ยวกับรถทั้งหมด 2. สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการคัดแยกขยะและการทำปุ๋ยชีวภาพ

  44. สำนักงานเขต..... • ด้านบุคลากร • 1. พัฒนาคุณภาพเจ้าหน้าที่ โดยให้เก็บขนมูลฝอยมากองไว้ • 2. ชี้แจงนโยบายการประหยัดน้ำมัน • 3. สร้างแรงจูงใจ เมื่อลดปริมาณน้ำมันที่ใช้ แล้วมีการมอบรางวัล • 4. จัดการประกวดและมอบรางวัล ด้านการลงทุน 1. ใช้ระบบกล่องดำ 2. รถขยะทุกคันติดกล่องดำเพื่อควบคุมพฤติกรรมการขับรถ

  45. สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขต....... 345,600 115,200 2,880,000 2,038,284 564,228 1,692,684 679,428 14,150,700 16,985,700

  46. กองโรงงาน.... • มาตรการ • สามารถดำเนินการได้ทันทีและเห็นผลชัดเจน • 1. การจัดหาสถานที่จอด เพื่อลดระยะทางในการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง • 2. ใช้รถตู้ขนาด 12 – 15 ที่นั่งแทนรถบัสบริการ (สายบางนา-สำโรง) • 3. ลดจำนวนในการรับ-ส่งหนังสือต่อวัน (จากเดิม 2 ครั้ง/วันเป็น 1 ครั้ง/วัน) • 5. การสตาร์ทเครื่องยนต์ของเครื่องปั๊มลมและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (ติดตั้งในรถโมบาย • สตาร์ทเครื่องยนต์เมื่อมีการปฏิบัติงานจริงและต่อเนื่องเท่านั้น • 4. ใช้ระบบ CAR POOL ทางเดียวกันไปด้วยกัน

  47. กองโรงงาน..... • มาตรการสนับสนุน • 1. การใช้รถอย่างถูกวิธี ตรวจสอบรถก่อนใช้งานต้องอยู่ในสภาพดี • 2. การตรวจสอบยางรถยนต์ ถูกต้องตามมาตรฐานกำหนด • 3. การนำสิ่งของสัมภาระที่ไม่จำเป็นออกจากรถ • 4. การใช้เกียร์กับความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่เหมาะสม • 5. การปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมและถูกวิธี • 6. ไม่ควรสตาร์ทเครื่องยนต์พร้อมกับเปิดระบบไฟแสงสว่าง, วิทยุ ,เครื่องปรับอากาศ • 7. ไม่ควรอุ่นเครื่องยนต์ก่อนเคลื่อนตัวรถ • 8. ใช้ขนาดกำลังของเครื่องยนต์ที่เหมาะสมกับงาน • 9. การบำรุงรักษาตามวาระ, การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง, เปลี่ยนไส้กรองน้ำมันเครื่อ • ไส้กรองเชื้อเพลิง และไส้กรองอากาศ และจุดหล่อลื่นระบบส่งกำลัง • 10.ไม่ขับก็ดับเครื่องยนต์

  48. กองโรงงาน.... • ด้านบุคลากร • 1. การอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้รถอย่างมีประสิทธิภาพ • 2. การวางแผนก่อนการเดินทาง, สำรวจเส้นทาง • 3.ไม่ขับก็ดับเครื่องยนต์ • 4. การให้รางวัล

  49. สรุป จำนวนน้ำมันที่ใช้ทั้งหมดจำนวน = 171,012 ลิตร/ปี ประหยัดตามนโยบาย 15 % = 25,651 ลิตร/ปี จากผลการดำเนินการประหยัดได้ 16.53 % = 28,251 ลิตร/ปี

  50. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล อุปสรรค • ภายนอก • ต้นทุนเทคโนโลยีสูง • ต้องใช้เวลาในการสร้างความร่วมมือภายนอก • ภายใน - มาตรการไม่ต่อเนื่อง, ไม่เข้มงวด • สภาพแวดล้อมทางกายภาพไม่อำนวย • อุปกรณ์ไฟฟ้ามีสภาพเก่า • บุคลากรบางส่วนขาดความตระหนัก,จิตสำนึก

More Related