300 likes | 478 Views
Presentation IS 309. การฝึก ปฏิบัติงาน (Practicum). วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกการทำงานตลอดจนศึกษาหาความรู้และประสบการณ์การทำงานใน หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
E N D
PresentationIS 309 การฝึกปฏิบัติงาน (Practicum)
วัตถุประสงค์ของการฝึกงานวัตถุประสงค์ของการฝึกงาน • เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกการทำงานตลอดจนศึกษาหาความรู้และประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน • เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสทำงานร่วมกับผู้อื่น และเข้าใจถึงลักษณะงานตลอดจนสภาวะจิตใจของผู้ร่วมงานในระดับต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในอนาคต • เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีมนุษยสัมพันธ์ และสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม • เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นตัวอย่าง และรูปแบบในการนำความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในการทำงานด้านต่าง ๆ
สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน งานนวัตกรรม ผ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานผู้ควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน นายณัฐกิจ สินธุยี่ ( Mr. NattakitSintuyee ) หัวหน้างานนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ ตำแหน่ง : นักวิชาการศึกษา 6 หมายเลขโทรศัพท์ : 02-310-8847 e-mail : NATTAKIT@ru.ac.th
ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงานระยะเวลาฝึกปฏิบัติงาน ตั้งแต่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2551 ถึง วันที่ 28 ตุลาคม 2551
ลักษณะของงานที่ได้รับมอบหมายลักษณะของงานที่ได้รับมอบหมาย ศึกษาข้อมูลสำหรับทำเว็บไซด์ที่เป็น Web Accessibility เพื่อคนตาบอด ศึกษาเทคโนโลยี Streaming ศึกษาวิธีการอ่านหนังสือเสียง สำหรับคนตาบอด ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม(ที่จะต้องใช้) การบันทึกเสียง แก้ไข ตัดต่อ จัดทำเว็บไซด์ จัดทำคู่มือสำหรับการใช้งาน
ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลขั้นตอนการศึกษาข้อมูล • Web Accessibility หมายถึง เว็บไซต์ที่สามารถให้บริการข้อมูลข่าวสารกับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยคำนึงถึงอุปสรรคในการรับรู้ หรือเข้าถึงข่าวสาร สารสนเทศต่างๆ เช่น ความพิการทางด้านการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายที่ไม่สามารถทำได้ เป็นต้น (ใส่รูป หู ตา จมูก ปาก............)
ระดับความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ • 2. Level Double-A • 3. Level Triple-A 1. Level A • ต้องอำนวยความสะดวกให้กับผู้พิการ ในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร • ระดับนี้ถือว่าเป็นระดับที่สูงสุด ซึ่งต้องทำให้การเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร ของผู้พิการ เป็นไปอย่างง่ายขึ้น และสามารถเข้าถึงได้ด้วยตนเอง • ต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานของผู้พิการ ในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร
ระดับความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ
TechnologyStreaming คำว่า “สตรีมมิ่ง” จะถูกนำไปใช้ในกรณีที่สามารถเล่นไฟล์มัลติมีเดียบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยไม่ต้องมีการดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตจนครบไฟล์เนื่องจากการดาวน์โหลดไฟล์มัลติมีเดียทั้งไฟล์จะใช้เวลาค่อนข้างมาก ดังนั้น การเล่นไฟล์มัลติมีเดียจากอินเทอร์เน็ตด้วยเทคนิค “สตรีมมิ่ง” จะทำให้สามารถแสดงผลข้อมูลได้ก่อนที่ไฟล์ทั้งหมดจะถูกส่งผ่านเข้ามายังเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง
ขั้นตอนการศึกษาวิธีการอ่านหนังสือเสียงขั้นตอนการศึกษาวิธีการอ่านหนังสือเสียง • ศึกษาจากเว็บไซต์ • ศึกษาขั้นตอนการอ่าน (ว่าอ่านอย่างไร) • การออกเสียง อักขระ คำควบกล้ำ เครื่องหมายต่าง ๆ คำย่อ เช่น • ฯลฯ อ่านว่า และอื่น ๆ • พ.ศ. อ่านว่า พุทธศักราช เป็นต้น
ศึกษาจากสถานที่จริง คือ สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย โดยได้รับความอนุเคราะห์ให้คำแนะนำจาก คุณวาสนา ....... เจ้าหน้าที่........
ภาพบรรยากาศในการศึกษาวิธีการทำงานภาพบรรยากาศในการศึกษาวิธีการทำงาน
ขั้นตอนการบันทึกเสียงขั้นตอนการบันทึกเสียง • โปรแกรมที่ใช้บันทึกเสียง คือ โปรแกรม Sound Forge 8.0
ภาพบรรยากาศในการบันทึกเสียงภาพบรรยากาศในการบันทึกเสียง
ขั้นตอนในการทำเว็บไซต์ขั้นตอนในการทำเว็บไซต์ • โปรแกรมที่ใช้ในการทำเว็บไซต์ คือ โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 เป็นโปรแกรมสำหรับพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งมีคุณสมบัติครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบและสร้างเว็บเพจ การบริหาจัดการเว็บไซต์ ตลอดไปจนถึงการพัฒนาเว้นแอพพลิเคชั่น
ภาพบรรยากาศในการทำเว็บไซต์ภาพบรรยากาศในการทำเว็บไซต์
ผลงานแห่งความสำเร็จ http:/e-book.ram.edu/audiobook
ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกงานประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกงาน • ความรู้ • ความรับผิดชอบ • มีสัมมาคารวะ • การตรงต่อเวลา • การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น • การจัดสรรเวลา
ปัญหาและอุปสรรค • ปัญหาจากการใช้โปรแกรม • ไม่มีความรู้ ความชำนาญ ในโปรแกรมที่ใช้ • ในการใช้งานโปรแกรมมักมีปัญหาเฉพาะหน้าให้แก้ไขอยู่เสมอ • ในแต่ละขั้นตอนใช้เวลาทำค่อนข้างมาก • ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ • การถ่ายโอนข้อมูลขึ้น Sever • ฯลฯ
ปัญหาจากสิ่งแวดล้อม • ปัญหาจากเสียงรบกวน • ปัญหาจากการอ่านออกเสียง • สภาพร่างกาย • ฯลฯ
แนวทางการแก้ไขปัญหา และข้อเสนอแนะ • เกี่ยวกับการใช้โปรแกรม • ศึกษาวิธีการใช้โปรแกรมเพิ่มเติม และปรึกษาผู้รู้ • เพิ่มความละเอียดรอบคอบในการทำงาน • หมั่นตรวจเช็คประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ และ Scan virus • ฯลฯ
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม • เสนอผู้ควบคุมงานว่าควรมีห้องบันทึกเสียงโดยเฉพาะ • ตรวจเช็คความถูกต้องของงาน • พักผ่อนให้เพียงพอ • ฯลฯ
บทส่งท้าย การจัดทำหนังสือเสียง (e - audiobook) นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้บกพร่องทางสาย และเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับนักศึกษา หรือผู้ที่สนใจ ให้ได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า project “e – audiobook” นี้ จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจบ้าง ไม่มากก็น้อย และหากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย