2.1k likes | 4.97k Views
เชื้อราไตรโค เดอร์ มา Trichoderma harzianum. กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์. เชื้อราไตรโค เดอร์ มาชนิดสด. เชื้อราไตรโค เดอร์ มา. เป็นเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ต่อเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด มีสีเขียว เจริญได้ดีทั้งในดิน บนเศษซากพืช และซาก อินทรีย์วัตถุ ตามธรรมชาติ. ประโยชน์.
E N D
เชื้อราไตรโคเดอร์มาTrichodermaharzianumเชื้อราไตรโคเดอร์มาTrichodermaharzianum กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์
เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ต่อเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด มีสีเขียว เจริญได้ดีทั้งในดิน บนเศษซากพืช และซากอินทรีย์วัตถุตามธรรมชาติ
ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราหลายชนิด เช่น โรครากเน่าโคนเน่า แอนแทรคโนสโรคไหม้ เป็นต้น
ชนิดของโรคพืชที่ควบคุมได้ชนิดของโรคพืชที่ควบคุมได้ 1. เชื้อรา พิเทียม (Pythium spp.) ยอดเน่า รากเน่า-โคนเน่า ต้นเน่า เน่าคอดิน 2.เชื้อรา ฟิวซาเรียม (Fusarium spp.) โรคกล้าไหม้ โคนเน่า ต้นเน่า หรือกอเน่าแห้ง ผลเน่า โรคเหี่ยว 3. เชื้อรา สเคลอโรเทียม (Sclerotium rolfsii.) โรครากเน่า ราเมล็ดผักกาด
4. เชื้อรา ไรซ็อกโทเนีย(Rhizoctoniasolani) โรคหัวเน่า รากเน่า เน่าคอดิน กาบใบแห้ง 5. เชื้อรา ไฟท็อปธอร่า(Phytopthoraspp.)โรครากเน่า-โคนเน่า ส้ม ทุเรียน 6.เชื้อรา(Colletotrichumspp)โรคแอนแทรคโนส
โรคเหี่ยวในมะเขือเทศ Fusarium wilt
โรคจากเชื้อพิเทียม รากเน่า เน่าคอดินต้นกล้า
โรคที่เกิดจากเชื้อรา สเคลอโรเทียม โรคราเมล็ดผักกาด
ลักษณะการควบคุมโรค - เป็นปรสิต(Parasite)โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราสาเหตุโรคพืช - สร้างปฏิชีวนสาร(Antibiotics)เพื่อยับยั้งและทำลายเส้นใยของเชื้อราโรคพืช
ลักษณะการควบคุม/ทำลายลักษณะการควบคุม/ทำลาย ใช้เส้นใยพันรัดเส้นใยของโรคพืช
ลักษณะการเป็นปรสิต ไตรโคเดอร์มา เส้นใยเชื้อราโรคพืช
- มีความสามารถในการแข่งขันสูง(Competition) สร้างเส้นใย/สปอร์ได้รวดเร็ว ไรซ็อคโทเนีย ไตรโคเดอร์มา ไรซ็อคโทเนีย
เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดต่างๆเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดต่างๆ ชนิดผงแห้ง
การผลิตขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มาโดยใช้ข้าวเจ้าการผลิตขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มาโดยใช้ข้าวเจ้า
วัสดุ-อุปกรณ์ 1.ข้าวเจ้า 2.ถ้วยตวง 3.น้ำสะอาด 4.หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 5.ทัพพี
วัสดุ-อุปกรณ์ 6.ถุงพลาสติกทนร้อน 8X12นิ้ว 7.ยางรัด 8.เข็มหมุด 9.ตราชั่งขนาดเล็ก 10.หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาบริสุทธิ์
ขั้นตอนการผลิต หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้าข้าว 3 ส่วน + น้ำ 2 ส่วน
หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้าหุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
ตักข้าวที่หุงสุกใหม่ๆใส่ถุงพลาสติกทนร้อน ขนาด 8x12 นิ้ว ถุงละ 250 กรัม รีดอากาศออก แล้วพับปากถุง วางไว้ให้อุณหภูมิอุ่นเกือบเย็น
วางทิ้งไว้ให้อุ่น(เกือบเย็น)วางทิ้งไว้ให้อุ่น(เกือบเย็น)
ใส่หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาลงไปบนข้าว โดยใส่เพียงเล็กน้อย รัดปากถุงด้วยยางรัด แล้วคลุกเคล้าให้ทั่วถุง
ใช้เข็มหมุดแทงรอบๆปากถุงใต้บริเวณยางรัด 15-20 จุด เพื่อให้อากาศภายในถุงถ่ายเทได้เล็กน้อย
นำไปวางบ่มเชื้อไว้ในที่ร่ม อากาศถ่ายเท และมีแสงสว่างส่องถึงหรือเปิดไฟให้แสงสว่าง
เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ขยายโดยใช้ปลายข้าวขาวดอกมะลิ 105 อายุ 4 วัน
ครบ 2 วันขยำข้าวในถุงอีกครั้ง แล้ววางไว้ที่เดิมอีก 5-7 วันเชื้อจะเจริญเต็มถุงและมีสีเขียวเข้ม
เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่เจริญเต็มที่แล้วเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่เจริญเต็มที่แล้ว
การเก็บรักษา • ควรเก็บเชื้อราไตรโคเดอร์มา ไว้ในที่เย็น 7-10 oc
สรุปขั้นตอนการผลิต หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า ข้าว 3 ส่วน/น้ำ 2 ส่วน ตักข้าวใส่ถุงพลาสติกขณะร้อน 250 กรัม/ถุง พับปากถุงเกลี่ยข้าวให้กระจาย ทิ้งให้เย็น ใส่หัวเชื้อ นำไปวางบ่มเชื้อ 5-7 วันเชื้อเจริญทั่วถุง
การนำไปใช้ • ใช้คลุกเมล็ด เชื้อสด 10กรัม (1 ช้อนแกง) ต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม เติมน้ำ 10 ซี.ซี. คลุกเคล้าให้ทั่ว แล้วนำไปปลูก
ใช้ผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ใช้ผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ • เชื้อราฯ 1 ก.ก. • รำละเอียด 4 ก.ก. • ปุ๋ยอินทรีย์(ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก) 100 ก.ก.
ผสมคุกเคล้า รดน้ำให้มีความชื้นเล็กน้อย
ผสมเชื้อราฯกับส่วนผสมผสมเชื้อราฯกับส่วนผสม