270 likes | 451 Views
ระบบงานภาคบังคับ. 1. ระบบงบประมาณ ผลผลิต ตัวชี้วัด (1) รายงานผลทุกไตรมาส (สำนักงบประมาณ) 2. GFMIS - real time (ระบบฐานข้อมูลกลาง ) 3. คำรับรองการปฏิบัติราชการ - ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัด (2) - รายงานผล 6, 9, 12 เดือน (สำนักงาน ก.พ.ร.). ระบบงานภาคบังคับ (ต่อ).
E N D
ระบบงานภาคบังคับ 1. ระบบงบประมาณ ผลผลิต ตัวชี้วัด (1) รายงานผลทุกไตรมาส (สำนักงบประมาณ) 2. GFMIS - real time (ระบบฐานข้อมูลกลาง) 3. คำรับรองการปฏิบัติราชการ - ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัด (2) - รายงานผล 6, 9, 12 เดือน (สำนักงาน ก.พ.ร.)
ระบบงานภาคบังคับ (ต่อ) 4. ระบบควบคุมคุณภาพภายใน แผนปรับปรุง รายงานผลสิ้นปี (สตง.) 5. DPIS real time 6. ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการจัดทำแผน บริหารราชการแผ่นดิน กรอบแผนปฏิบัติราชการ 7. ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
ระบบงบประมาณ งบประมาณ = เป้าหมายผลผลิต x ต้นทุน
ผลผลิตและเป้าหมาย ผลผลิตที่ 1 = การกำกับดูแลโรงงานและสถานประกอบการ วัตถุอันตราย 62,000 ราย ผลผลิตที่ 2 = การถ่ายทอดเทคโนโลยี 1,000 ราย ผลผลิตที่ 3 = การให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลฯ 100,000 ราย ผลผลิตที่ 4 = การบริการจดทะเบียนเครื่องจักร 4,500 ราย
งบประมาณสำหรับ 4 ผลผลิต 2 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 งบประมาณ 4 ผลผลิต 405 ล้านบาท งบประมาณโครงการสร้างระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล 148 ล้านบาท งบประมาณโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน 9 ล้านบาท
กิจกรรม ผลผลิต และผลงาน กิจกรรมที่ดำเนินการ ประกอบด้วย 3 กลุ่ม 1. กิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลผลิต : ตรวจโรงงาน ฝึกอบรมบุคคลภายนอก จดทะเบียนเครื่องจักร 2. กิจกรรมที่เป็นส่วนหนึ่งหรือสนับสนุนผลผลิตใดผลผลิตหนึ่ง : วิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ พิมพ์ใบอนุญาต ออกเลขทะเบียน 3. กิจกรรมสนับสนุนไม่เจาะจงผลผลิตใดผลผลิตหนึ่ง : การเจ้าหน้าที่ การเงินการคลัง หมายเหตุ : กิจกรรม 2 และ 3 แม้ไม่เป็นผลผลิต แต่เป็นผลงานของ เจ้าหน้าที่และหน่วยงาน
พจนานุกรมกิจกรรม คำอธิบายความหมายของกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจขอบเขต และทราบว่า ตนเองอยู่ในกิจกรรมใด สามารถลง น้ำหนักงานได้ถูกกิจกรรม งานของการกำหนดกิจกรรมจะไม่กำหนดให้ละเอียด เกินไป ไม่หยาบเกินไป
การกำหนดรหัสกิจกรรม 4 03 1 4 หมายถึง ผลผลิตที่ 4 03 หมายถึง กิจกรรมลำดับที่ 3 ของผลผลิต 1 หมายถึง เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลผลิต
การปรับปรุงพจนานุกรมกิจกรรม ปี พ.ศ. 2548 รวมกิจกรรม ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย (ยกเว้นที่ใช้งบรายจ่ายอื่น) ให้คำปรึกษาหน่วยงานภายในกรม และการเป็นวิทยากรฝึกอบรมบุคคลภายนอกที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก เข้ากับกิจกรรมบริหารงานทั่วไป รวมกิจกรรมฝึกอบรมเจ้าหน้าที่กับส่งเจ้าหน้าที่ฝึกอบรมภายนอกเข้าด้วยกัน รวมกิจกรรมขึ้นทะเบียนกับตรวจติดตามผลห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชนเข้าด้วยกัน รวมกิจกรรมจัดทำกับบริหารงบประมาณเข้าด้วยกัน
การปรับปรุง กิจกรรมอนุญาต ไม่มีหน่วยงาน สค. 1-4 กิจกรรมให้บริการข้อมูลและคำแนะนำปรึกษา มี หน่วยงานที่ดำเนินการเฉพาะ ศส. สทน. และ สภ. (Safety Clinic)
กิจกรรมการฝึกอบรม • ผู้เข้ารับการฝึกอบรม • ฝึกอบรมที่จัดโดยกรมในสถานที่ • ฝึกอบรมที่จัดโดยกรมนอกสถานที่ • ฝึกอบรมที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก จัดเป็นกิจกรรมฝึกอบรมเจ้าหน้าที่หมด
กิจกรรมการฝึกอบรม (ต่อ) • วิทยากรบรรยายในการฝึกอบรม • ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่กรม กิจกรรมฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ • ฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดโดยกรม กิจกรรมฝึกอบรมผู้ประกอบการ • ฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดโดยหน่วยงานภายนอก กิจกรรมบริหารงานทั่วไป
จะดูพจนานุกรมกิจกรรมได้ที่ไหนจะดูพจนานุกรมกิจกรรมได้ที่ไหน พจนานุกรมกิจกรรมของแต่ละสำนัก ดูได้จาก http://www3.diw.go.th/job-y48/ login-->แบบลงเวลาตามกิจกรรม-->เลือกวัน-->พจนานุกรม พจนานุกรมกิจกรรมรวมของกรม ดูได้จาก http://www3.diw.go.th/job-y48s/
GFMIS Government Fiscal Management Information System
การกำกับดูแลระบบ • กำกับโดยคณะกรรมการกำกับและบริหารโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานฯ โดยมีหน่วยงานกลางที่ร่วมออกแบบระบบ ประกอบด้วย • กรมบัญชีกลาง • สำนักงบประมาณ • สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน • สำนักงาน ก.พ. • สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
กิจกรรม • ผลผลิตที่ 1 1. พิจารณาอนุญาตและตรวจกำกับดูแลโรงงานฯ 2. พิจารณาอนุญาตและตรวจกำกับดูแลวัตถุอันตราย 3. พัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา • ผลผลิตที่ 2 4. ถ่ายทอดเทคโนโลยี • ผลผลิตที่ 3 5. ให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลด้านอุตสาหกรรม • ผลผลิตที่ 4 6. ตรวจจดทะเบียนเครื่องจักร
กิจกรรม (ต่อ) • โครงการจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการวัสดุเหลือใช้อุตสาหกรรม 7. จัดตั้งศูนย์บริหารจัดการวัสดุเหลือใช้ อุตสาหกรรม • โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน 8. แปลงสินทรัพย์เป็นทุน
คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 29 ธันวาคม 2547
14 ประเด็น 4 มิติ ตัวชี้วัดตามคำรับรอง มิติที่ 2 : ด้านคุณภาพการให้บริการ (10) มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (60) มิติที่ 3 : ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (10) มิติที่ 4 : ด้านการพัฒนาองค์กร (40)
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 1. ผลการปฏิบัติราชการตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวง (10) 3. ผลการปฏิบัติราชการตามแผนยุทธศาสตร์กรม (20) 2. ผลการปฏิบัติราชการตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มภารกิจ (15) 4. ความสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิต (5) 5. ความสำเร็จการสนับสนุนจังหวัด (10)
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มภารกิจตัวชี้วัดผลการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มภารกิจ 2.1 ร้อยละของการตรวจสอบสถานประกอบการตามรอบเวลา 2.2ร้อยละของผู้ประกอบการที่ปฏิบัติถูกต้อง 2.3 จำนวนระบบงาน IT ที่องค์กรเครือข่ายใช้งาน 2.4 ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการจัดระดับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์ กรอ. 3.1 ร้อยละของโรงงานในลุ่มน้ำสายหลักที่คุณภาพน้ำทิ้งเป็นไปตามมาตรฐาน 3.2ร้อยละของโรงงานในลุ่มน้ำสายหลักที่มีการแก้ไขหรือยึนยัน ความถูกต้องของข้อมูลน้ำทิ้ง 3.3 จำนวนผู้ควบคุมระบบสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น 3.4 ปริมาณการนำเข้าสาร CFCs 3.5 ร้อยละของกากที่ได้รับการนำกลับมาใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัดด้านคุณภาพการให้บริการตัวชี้วัดด้านคุณภาพการให้บริการ 6. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 7. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ปปช.
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 8. ร้อยละของงบประมาณที่ประหยัดได้ 9. ระดับความสำเร็จการลดระยะเวลาการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดร้อยละของงบประมาณที่ประหยัดได้ตัวชี้วัดร้อยละของงบประมาณที่ประหยัดได้ คิดจากงบประมาณทุกงบ (ไม่รวบงบบุคลากร) ถ้าลดได้ 5% จะได้คะแนนเต็ม งบ กรอ. (ไม่รวมบุคลากร) 372 ล้านบาท 5% คิดเป็น 18 ล้านบาท ปี 2547 ประหยัดได้ 23.39 ล้านบาท (ร้อยละ 13.5)
ตัวชี้วัดความสำเร็จการลดเวลาปฏิบัติราชการตัวชี้วัดความสำเร็จการลดเวลาปฏิบัติราชการ เสนอลด 5 กระบวนงาน 1. การขออนุญาตมีไว้ในครอบครองวัตถุอันตราย (30 วัน) 2. การขอจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักร (60 วัน) 3. การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลระบบบำบัดมลพิษ ประเภท บุคคล (14 วัน) 4. การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมประจำหม้อไอน้ำ (7 วัน) 5. การขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรควบคุมและอำนวยการใช้ หม้อไอน้ำ (7 วัน)
ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาองค์กรตัวชี้วัดด้านการพัฒนาองค์กร 10. ความสำเร็จการดำเนินงานตามแผนพัฒนาระบบบริหาร ความรู้ 11. ระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศ 12. ความสำเร็จการจัดทำแผน/ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ส่วนราชการ 13. ความสำเร็จการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 14. ความสำเร็จการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย