390 likes | 917 Views
ทักษะการจับประเด็น. โดย ฐิติ ลาภอนันต์ ผู้อำนวยการสำนักกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. เพื่อให้นิสิตสามารถเรียนในระดับอุดมศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้นิสิตมีความรู้และมีทักษะในการจับประเด็น สำคัญ
E N D
ทักษะการจับประเด็น โดย ฐิติ ลาภอนันต์ ผู้อำนวยการสำนักกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
เพื่อให้นิสิตสามารถเรียนในระดับอุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้นิสิตสามารถเรียนในระดับอุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เพื่อให้นิสิตมีความรู้และมีทักษะในการจับประเด็นสำคัญ • เพื่อให้นิสิตนำความรู้เกี่ยวกับทักษะการจับประเด็นไปใช้ในการดำเนินชีวิตการเรียนและการทำงานในอนาคต • เพื่อจัดกิจกรรมทางเลือกที่จะสนับสนุนโครงการก้าวแรกสู่บัณฑิตยุคใหม่ • เพื่อสร้างกิจกรรมรองรับการดำเนินงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่ (กิจกรรมเสริมหลักสูตรต่อเนื่องทุกชั้นปี) วัตถุประสงค์
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึง มาหา ความหมาย ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว อ.วิทยากร เชียงกูล เจ้าของบทกวี “เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน”จาก www.kawethai.com/board/index.php?topic=1012.0
1 บัณฑิตยุคใหม่ในศตวรรษที่21
ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 การศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21
การเน้นพัฒนาทักษะและทัศนคติ — ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทักษะการสื่อสาร ทักษะและค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเชื่อมั่นตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนักในสภาพแวดล้อม และเหนืออื่นใด คือ ความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะที่สำคัญจำเป็นสำหรับการเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นสิ่งที่ท้าทายในการที่จะพัฒนาเรียนเพื่ออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีทั้งความสำเร็จและมีความสุข การศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21 St George’s College. (n.d.). Educating for the 21st century. Retrieved January 2, 2013 from http://www.stgeorgescollege.edu.pe/pg-en/educating-for-the-21st-century.php จากhttp://lripsm.wix.com/21st#!about_us/cjg9
คุณลักษณะเยาวชนไทยในประชาคมอาเซียนจากคุณลักษณะของผู้เรียนกับการเป็นประชาคมอาเซียน : ศศิธร อ้นหอม
“สมรรถนะ” เป็นเรื่องสำคัญในตัวบัณฑิต ความรู้+ทักษะ+คุณลักษณะ+ทัศนคติ มี “ความมุ่งมั่น” ที่จะทำให้ได้ คนเรียนเก่ง ไม่ได้สท้อนว่าทำงานเก่ง ดูคน30%ดูพฤติกรรมที่เอื้อต่องาน70% พฤติกรรมไม่ใช่การฝึก แต่เป็นการพัฒนาสร้างกระบวนการ มุมมองของผู้ผลิตและผู้ใช้บัณฑิต
การสัมภาษณ์ ไม่ถามความคิดเห็น มุ่งไปที่อดีต...เพื่อสท้อนตัวตน ให้เล่าเหตุการณ์ในชีวิต...เพื่อบอกตัวตนและ “กระบวนการคิด” “การเคารพผู้อื่น”..เห็นคุณงามความดีผู้อื่นเป็นชื่นชม. ....ทำให้พัฒนาไปสู่ “การเคารพเวลา” และ “การฟังกัน” มุมมองของผู้ผลิตและผู้ใช้บัณฑิต
ทักษะในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้อย่างเชี่ยวชาญทักษะในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้อย่างเชี่ยวชาญ สรุปการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา
..การไปสู่ชัยชนะสำคัญกว่าชัยชนะ....การไปสู่ชัยชนะสำคัญกว่าชัยชนะ.. “กระบวนการเรียนรู้สำคัญกว่าความรู้”
เพื่อการจดจำ • เพื่อเก็บข้อมูลให้ได้มากที่สุด • เพื่อใช้เชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆ • เพื่อการจับจุดสำคัญที่จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ • เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้สื่อ • เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของตนเอง • เพือสังเคราะห์ความรู้ในการนำไปใช้ในวิถีชีวิต ประโยชน์ของทักษะการจับประเด็น
ทำไม หลักการจับประเด็น
ทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ และความมุ่งหมายของวิชาเรียน • ตั้งคำถามจากประเด็นที่ได้เตรียมการอ่านจากเอกสาร ตำราเรียนล่วงหน้า • อะไรคือประเด็นสำคัญ หัวใจของเรื่องอยู่ตรงไหน ผู้เขียนต้องการบอกอะไร • จับประเด็นจากการฟังบรรยายและคำตอบจากคำถามที่เตรียมไว้ • สนทนาแลกเปลี่ยนประเด็นที่ได้กับเพื่อน • เชื่อมโยงประเด็นที่ได้ โดยดูความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของวิชาเรียน แนวทางการจับประเด็น
ทักษะการฟังจับประเด็นทักษะการฟังจับประเด็น
เกม ฝึกทักษะการจับประเด็น
“ ผู้ไม่ประมาท พินิจพิจารณา ตั้งใจฟัง ย่อมได้ปัญญา ”