580 likes | 835 Views
นายสมหมาย ภูทองเงิน. ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. รุ่นที่ 1/2547. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กระทรวงมหาดไทย. FIRE. ประโยชน์. การดำรงชีพในชีวิตประจำวัน. - ให้แสงสว่าง. - การบริโภค. - ความบันเทิง. โทษ. การสูญเสียชีวิต. โทษ. การสูญเสียทรัพย์สิน. โทษ. การสูญเสียสิ่งแวดล้อม.
E N D
นายสมหมาย ภูทองเงิน ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่1/2547 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
ประโยชน์ การดำรงชีพในชีวิตประจำวัน - ให้แสงสว่าง - การบริโภค - ความบันเทิง
โทษ การสูญเสียชีวิต
โทษ การสูญเสียทรัพย์สิน
โทษ การสูญเสียสิ่งแวดล้อม
ธรรมชาติของไฟ ไฟเกิดจากการเผาไหม้หรือการสันดาป เป็นปฏิกิริยาเคมี ในการเติมออกซิเจนของสารใดสารหนึ่งซึ่งทำให้เกิดความร้อนอย่างมากมาย เกิดแสงสว่างและมีสภาพการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เกิดขึ้น
แหล่งกำเนิดความร้อน • เปลวไฟ • การเสียดสี • ประกายไฟ • กระแสไฟฟ้า • ไฟฟ้าสถิตย์ • ปฏิกิริยาเคมี
ผลของความร้อน • ทำให้อุณหภูมิของอากาศๆรอบ แหล่งกำเนิดสูงขึ้น • ทำให้วัตถุขยายตัว • ทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะ • ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี • ทำให้เกิดการติดต่อลุกลาม
องค์ประกอบของไฟ ประกอบด้วย เชื้อเพลิง( VAPER ) ความร้อน (HEAT) อากาศ ( OXYGEN )
เชื้อเพลิง(VAPOR) เชื้อเพลิง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะภาพเช่นใด เช่น วัตถุเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงเหลว หรือก๊าซ ต้องเปลี่ยนสถานะเดิมเป็นไอหรือเป็นก๊าซก่อน ความร้อนที่ทำให้เชื้อเพลิงเปลี่ยนสถานะเป็นไอหรือก๊าซ เข้าผสมกับอากาศอย่างได้สัดส่วน (Explosive Limit) พร้อมที่จะลุกไหม้ได้ เรียกว่า ความร้อนถึงจุดวาบไฟ(FLASH POINT)
ความร้อน(HEAT) เป็นต้นเหตุแห่งการจุดติด ต้องสูงพอที่จะยกระดับอุณหภูมิของสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง ให้ถึงจุดไฟติดหรือจุดชวาลของเชื้อเพลิงนั้น ๆ
อากาศ(OXYGEN >16%) ได้แก่บรรยากาศที่มีออกซิเจนอยู่ในอัตราประมาณร้อยละ 21 ออกซิเจนเป็นก๊าซที่ช่วยให้ไฟติด ถ้าลดต่ำกว่าร้อยละ 16 แล้วไฟจะไหม้ช้าลงหรือดับมอดในที่สุด เพราะฉะนั้น ในบริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไหม้จึงต้อง ไม่เปิดอาคารให้โล่งออก เพื่อรับออกซิเจน ส่วนไนโตรเจนที่มีอยู่ในบรรยากาศในอัตราประมาณร้อยละ 79 นั้น ไม่ได้ช่วยในการเผาไหม้แต่อย่างใดเลย แต่ช่วยในการ ส่งผ่านความร้อน โดยจะพาความร้อนจากส่วนล่างของอาคารขึ้นไปติดต่อ ลุกลามส่วนบนเพดานหรือโครงหลังคา
องค์ประกอบ ของไฟ (ELEMENTS OF FIRE) อุณหภูมิ ที่ทำให้เกิดการ IGNITION ปริมาณ Oxygen >16% HEAT OXYGEN FUEL ของแข็ง / ของเหลว / ก๊าซ / สารเคมี ที่รับความร้อนและเปลี่ยนเป็น ไอ (VAPER) แล้ว
เพลิง ออกซิเจน ความร้อน ไอเชื้อเพลิง แปรสภาพเป็นไอระเหย เชื้อเพลิง ความร้อน
ปฎิกิริยาลูกโซ่ VAPER CHAIN REACTION OXYGEN HEAT
ความหมายของคำว่า อัคคีภัย ภยันตรายที่เกิดจากไฟที่เกินการควบคุมและลุกลามต่อเนื่องสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิต ทรัพย์สินและสภาพแวดล้อม
FLAM (ลุกไหม้) HEAT (ความร้อน) FIRE SMOKE (ควัน) GASES (ก๊าซพิษ)
MODERATE HEAT < 400 ํC HEAT SMOKE EXTREME HEAT >800 ํC C HIGH HEAT 400-800 ํC B A
จุดกำเนิดความร้อนที่ทำให้เกิดอัคคีภัยจุดกำเนิดความร้อนที่ทำให้เกิดอัคคีภัย (SOURCES OF IGNITION) การลุกไหม้ที่มีอันตรายมีอยู่ 2 ประการ คือ 1. การลุกไหม้อย่างฉับพลัน(FLASHOVER) 2. การลุกไหม้และการลุกพรึบขึ้น (SMOLDERING FIRE AND BACKDRAFT)
การติดต่อลุกลาม เกิดได้ 4 วิธี
การติดต่อลุกลาม 1. การนำความร้อน (CONDUCTION)
การติดต่อลุกลาม 2. การพาความร้อน ( CONVECTION )
การติดต่อลุกลาม 3. การส่งรังสีความร้อน (RADIATION)
4. ลูกไฟที่กระเด็นหรือลอยไปตก
ประเภทของไฟ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามมาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Asscociation)
ไฟประเภทที่ 1 A เชื้อเพลิงธรรมดา พลาสติก/นุ่น/กระดาษ/ปอ/ไม้/เสื้อผ้า/หญ้า/ฟาง /และอื่นๆ หรือสิ่งที่สามารถดับด้วยน้ำได้
ไฟประเภทที่ 2 B เชื้อเพลิงเหลว และก๊าซ
ไฟประเภทที่ 3 C อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกระแสไหลอยู่
ไฟประเภทที่ 4 D โลหะและสารเคมีที่เป็นโลหะ
หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 1.การกำจัดสาเหตุ 1.1 ความร้อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 1.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 2.การป้องกันการติดต่อลุกลาม 2.1 วัตถุที่ทำให้เกิดไฟ เช่น ก๊าซ น้ำมัน ฯลฯ วัตถุที่สนับสนุนการลุกไหม้ กระดาษ ผ้า ไม้ ยางรถยนต์ สารเคมี
หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 3.การลดความสูญเสีย 3.1 ความรู้ การฝึกอบรม ฯ 3.2 การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ การดับเพลิงเบื้องต้น 3.3 แจ้งเหตุเพลิงไหม้ โทร 199 หรือ 1784 (ฟรี 24 ชั่วโมง) 3.4 ซ้อมอพยพหนีไฟ
วิธีการดับเพลิง 1. การลดอุณหภูมิ 2. การทำให้อับอากาศ การขจัดเชื้อเพลิง 3.
เครื่องดับเพลิง เคมีขั้นต้น หมายถึง - เครื่องดับเพลิงที่ใช้ในการดับเพลิงขั้นต้น - มีขนาดบรรจุ 10 - 20 ปอนด์ สามารถหยิบ ยก หิ้ว เคลื่อนที่ไปยังที่เกิดเหตุได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
การติดตั้ง • ติดตั้งบริเวณที่เห็นเด่นชัด • สามารถนำไปใช้ดับเพลิงได้สะดวก • ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 1.50 เมตร • ติดตั้งอยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม
ประเภทของเครื่องดับเพลิงประเภทของเครื่องดับเพลิง แบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. ชนิดน้ำธรรมดา 2. ชนิดเคมีโฟม 3. ชนิดน้ำยาเหลวระเหย HALON, B.C.F. 4. ชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 5. ชนิดผงเคมีแห้ง
น้ำธรรมดา Plain Water • บรรจุด้วย - น้ำประมาณ 2.5 แกลลอน - ใช้แรงดันจากอากาศ ,ก๊าซไนโตรเจน หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - อัดด้วยความดันที่ 100 - 150 psi
ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ได้ผลดี - หาง่าย - ราคาถูก - มีประสิทธิภาพในการดับเพลิง 30 - 40 ฟุต ข้อเสีย - ห้ามใช้ดับไฟ B , C และ D - สิ่งของที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงเสียหาย
โฟม (Foam) • บรรจุด้วย - โฟมสังเคราะห์ AFFF (Aqueous Film Forming Foam) - ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ สารฟลูออไรด์ (Fluoride) และสารทำให้ฟองคงทน (Fluorinated Surfactants Plus Foam Stabilizers)
ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ได้ • ใช้ดับไฟ B ได้ผลดีที่สุด • เก็บได้ 25-30 ปี ข้อเสีย - ห้ามใช้ดับไฟ C และ D - ต้องมีความชำนาญในการใช้งาน
น้ำยาเหลวระเหย (B.C.F.) • บรรจุด้วย - สารประกอบ Halogenated โดยมีสารเข้าไปแทนที่ไฮโดรเจน ในสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน (ฟลูโอลีน F , คลอรีน Cl , โปรมีนBr) - ก๊าซไนโตรเจน ความดัน 40 psi. ที่ 70 Fo • จุดเดือดต่ำ 25 Fo / จุดเยือกแข็ง - 256 Fo • ความหนาแน่นไอสูง หนักกว่าอากาศ 5 เท่า
ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - มีประสิทธิภาพในการดับเพลิงสูง - มีอายุการใช้งานนาน - ระยะการใช้งาน 9 - 15 ฟุต ข้อเสีย • เกิดก๊าซพิษ คือ คลอรีน , ฟอสยีน • คาร์บอนไดออกไซด์ • ทำลายโอโซนในชั้นบรรยายกาศ • - ราคาแพง
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลวก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลว • บรรจุด้วย - CO2 อัดที่ความดัน 800 - 900 psi - ถังทนความดันได้ไม่ต่ำกว่า 3,375 psi • คุณสมบัติ -เป็นก๊าซเฉื่อย หนักกว่าอากาศ 1.5 เท่า - ก๊าซที่ออกมาเย็นจัด กลายเป็นน้ำแข็งแห้ง 30 %
ข้อดี - ใช้ดับไฟ B และ C - สะอาด ข้อเสีย - ใช้ดับไฟ A ไม่ได้ผลดี - ไม่สามารถดับไฟ D - เกิดภาวะการขาดออกซิเจน - ใช้ในที่โล่งแจ้งไม่ได้ผลดี - 3- 4 ฟุต
ผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) • บรรจุด้วย - โซเดียมไบคาร์บอนเนต (ผงสีขาว)1 lbs/1,100 ตร.ฟ.,โปตัสเซียมไบคาร์บอนเนต , แอมโมเนียมฟอสเฟต(สีเหลือง) 1 lbs/1,500 ตร.ฟ.หรือโปตัสเซียมคลอไรด์ (สีฟ้า) 1lbs/1,800ตร.ฟ. - อัดด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ก๊าซไนโตรเจน - สารกันชื้น
ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - ใช้งานง่ายสะดวก - ระยะการใช้งาน 5 - 15 ฟุต ข้อเสีย - ไม่สามารถดับไฟ D - ทิ้งคราบสกปรก - อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคโทรนิคเสียหาย - อุปสรรคในการหายใจ และการมองเห็น - ใช้งานได้เพียงครั้งเดียว
ภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิงภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิง 195 195 0 0 ใช้ได้ ใช้ไม่ได้
ทำอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้ทำอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้ 1. ตั้งสติ 2. ดูประเภทของไฟ B D C A 3.เลือกวิธีดับเพลิง 4.แจ้งหน่วยดับเพลิง 5.ออกจากที่เกิดเหตุ