480 likes | 594 Views
BIO-ECOLOGY 2. POPULATION ประชากร. กลุ่มสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน อาศัยในพื้นที่เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึ่ง. สมาชิกผสมพันธุ์กันได้อย่างอิสระ มีลักษณะเฉพาะของกลุ่มประชากร. ตัวอย่าง.. ลักษณะเฉพาะของประชากร. BIRTH RATE & DEATH RATE อัตราการเกิด-ตาย. GROWTH FORMS..รูปแบบการเจริญ.
E N D
POPULATION ประชากร กลุ่มสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน อาศัยในพื้นที่เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึ่ง สมาชิกผสมพันธุ์กันได้อย่างอิสระ มีลักษณะเฉพาะของกลุ่มประชากร
ตัวอย่าง.. ลักษณะเฉพาะของประชากร BIRTH RATE & DEATH RATE อัตราการเกิด-ตาย GROWTH FORMS..รูปแบบการเจริญ AGE STRUCTURE..โครงสร้างอายุของประชากร POPULATION FLUCTUATION..การผันแปรจำนวนของประชากร
รูปแบบการเจริญของประชากรรูปแบบการเจริญของประชากร GROWTH FORMS(PATTERNS) 2 แบบ จำนวน J-SHAPED (EXPONENTIAL GR.) เจริญช้าช่วงแรก ต่อมารวดเร็วตามความสามารถ ของแต่ละชนิด พท.แห้งแล้ง มีความผันแปร ส่วนมากอายุสั้น..หรือถูกควบคุม เวลา
S-SHAPED (LOGISTIC GR.) จำนวน K ช้าช่วงแรก ต่อมาเร็วขึ้น ค่อยๆลดลงในช่วงท้าย มีแรงต้านจากสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENTAL RESISTANCE เวลา
ประชากรมาก ขาดแคลน ต่อสู้ แย่งชิง บาดเจ็บ ตาย มีแรงต้านจากสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENTAL RESISTANCE อาหาร ที่อาศัย ทำรัง….. ส่งผลต่อการเพิ่มประชากร
อัตราการเจริญแบบ S-SHAPED สัมพันธ์กับจำนวนประชากร การเจริญ แรงต้านจากสิ่งแวดล้อม ประชากร เวลา
โครงสร้างอายุ อายุ 3 กลุ่ม AGE POST- REPRODUCTIVE REPRODUCTIVE PRE- REPRODUCTIVE EXPANDING DECLINING STABLE
K การผันแปรจำนวนประชากร จำนวน จำนวนที่เหมาะสม เวลา
ตัวอย่างการผันแปรจำนวนประชากรของสัตว์ตัวอย่างการผันแปรจำนวนประชากรของสัตว์ ที่มีความสัมพันธ์กัน
COMMUNITY:ชุมชน หรือ สังคม กลุ่มสิ่งมีชีวิตหลายชนิด อาศัยร่วมกัน ในพื้นที่หนึ่ง มีความสัมพันธ์กัน ทางใดทางหนึ่ง
ลักษณะสำคัญของสังคม โครงสร้าง (STRUCTURE) ความสัมพันธ์ระหว่างประชากร (INTERSPECIFIC INTERACTION) ความหลากชนิด (SPECIES DIVERSITY) การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (ECOLOGICAL SUCCESSION) รูปแบบหรือชนิดของสังคม (BIOMES)
STRUCTURE VERTICAL STRUCTURE..โครงสร้างแนวดิ่ง HORIZONTAL STRUCTURE..แนวราบ
เมตร A B C D แบ่งสังคมเป็นระดับตามแนวดิ่ง แตกต่างกัน….แสง อุณหภูมิ ปริมาณออกซิเจน
แหล่งน้ำ …... อุณหภูมิ และ แสง แตกต่างกันตามความลึก
โครงสร้างแนวราบ มองการกระจายของแต่ละชนิด จากด้านบน
รูปแบบการกระจาย 3 แบบ UNIFORM RANDOM CLUMPED
ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรความสัมพันธ์ระหว่างประชากร INTERSPECIES INTERACTIONS ประชากรที่อยู่ร่วมกันในสังคม มีความสัมพันธ์กัน ได้ประโยชน์ + เสียประโยชน์ - ไม่ได้&ไม่เสีย 0
รูปแบบความสัมพันธ์ รูปแบบ 1 2
ผู้ล่า ปรสิต เหยื่อ HOST
MYCORRHIZAE พืช(ราก)…….รา พืชดูดซึมอาหารจากดินได้ดีขึ้น ราปล่อยสาร..ช่วยย่อยสารให้เล็กลง หุ้มราก….เพิ่มพื้นที่ในการดูดซึม
ผู้อาศัย ผู้นำทาง ปลา……..กุ้ง
+ COMMENSALISM
0 + อาศัยอยู่ใกล้ๆ กับชนิดที่ป้องกันตัวเองได้ดี
AMENSALISM - , 0 YELLOW PINES สร้างสารยับยั้งการเจริญของชนิดอื่น (-) ตนเองเจริญปกติ (0)
PREDATION ทากทะเล เป็นหอย ใช้ฟันขูดกิน ปะการัง
เทคนิคการล่า กัดที่สำคัญ ซ่อนตัว
ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ล่า กับ เหยื่อ อยู่ในสมดุลตามธรรมชาติ
PARASITISM เกาะที่ GILL&FIN เต็มวัย จมตัวลง พื้นน้ำ หอยน้ำจืด
นกกาเหว่า กับ นกชนิดอื่น BROOD PARASITISM8 แอบวางไข่ในรังของนกอื่น
จบเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประชากรจบเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประชากร