4.48k likes | 10.81k Views
หลักสูตร การสำรวจและเขียนแบบทาง อย่างมีประสิทธิภาพ. 1.1 การเตรียมความพร้อมการสำรวจ. 1. การสำรวจทาง. 1.1 การเตรียมความพร้อมการสำรวจ. - คำขอ (ถ้ามี) - แผนงานการสำรวจ - แผนที่ 1:50,000 - แบบฟอร์ม สอ. 1 – สอ. 8 - การเตรียมการดำเนินการมีส่วนร่วมภาคประชาชน.
E N D
หลักสูตร การสำรวจและเขียนแบบทาง อย่างมีประสิทธิภาพ
1.1 การเตรียมความพร้อมการสำรวจ 1. การสำรวจทาง
1.1 การเตรียมความพร้อมการสำรวจ - คำขอ (ถ้ามี) - แผนงานการสำรวจ - แผนที่ 1:50,000 - แบบฟอร์ม สอ.1 – สอ.8 - การเตรียมการดำเนินการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 1.1.1 การเตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือและอุปกรณ์สำรวจ - อุปกรณ์การสำรวจ - การทดสอบกล้องสำรวจ 1.1.2 การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร - หัวหน้าชุดสำรวจ - ทีมงานจัดเก็บข้อมูลแนวทาง (Alignment Parties) - ทีมงานจัดเก็บข้อมูล BM และ Profile (BM & Profile Parties) - ทีมงานจัดเก็บข้อมูลรูปตัดตามขวาง (Cross Section Parties) - ทีมงานจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดภูมิประเทศ (Photographic Parties) 1.1.3 การเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลเบื้องต้น
1.1.1 การเตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือและอุปกรณ์สำรวจ การตรวจสอบกล้องสำรวจ
2 การตรวจสอบกล้องธีโอโดไลท์ โดยวิธี Double Center Method 1. ตั้งกล้องที่จุด A เล็งแนวไปยังหมุดที่ 1 เพื่อตั้งค่ามุมไม้หลังหน้าซ้าย (LB)= 000000 2. หมุนกล้องในทิศตามเข็มนาฬิกาไปยังหมุดที่ 2 และอ่านค่ามุมกล้องไม้หน้าหน้าซ้าย (LF) =1123230 3. กระดกกล้อง เพื่อเปลี่ยนกล้องเป็นหน้าขวา จากนั้นเล็งแนวไปยังหมุดที่ 1 เพื่อตั้งค่ามุม ไม้หลังหน้าขวา (RB)= 1800000 4. หมุนกล้องในทิศตามเข็มนาฬิกาไปยังหมุดที่ 2 และอ่านค่ามุมกล้องไม้หน้าหน้าขวา (RF) =2923235 5. คำนวณค่ามุมเฉลี่ยระหว่างตำแหน่งไม้หลังและไม้หน้าของหน้าซ้าย,หน้าขวา • ค่ามุมหน้าซ้าย = LF – LB ( ถ้าลบไม่ได้ + 360 องศา) 1 • ค่ามุมหน้าขวา = RF – RB ( ถ้าลบไม่ได้ + 360 องศา) อ่านค่ามุมกล้อง =1123230 (LF) • ค่ามุมเฉลี่ย = (ค่ามุมหน้าซ้าย - ค่ามุมหน้าขวา) / 2 อ่านค่ามุมกล้อง =2923235 (RF) • งานชั้นที่ 2 • ผลต่างของมุมกับค่ามุมเฉลี่ยไม่เกิน 5 ฟิลิปดา • งานชั้นที่ 3 • ผลต่างของมุมกับค่ามุมเฉลี่ยต้องไม่เกิน 10 ฟิลิปดา ตั้งค่ามุมกล้อง =000000 (LB) A ตั้งค่ามุมกล้อง =1800000 (RB) หมายเหตุ: หากมีความคลาดเคลื่อนเกินกว่าที่กำหนด จะต้องทำการปรับแก้กล้อง โดยศึกษาจากคู่มือของกล้องรุ่นนั้นๆ ผลต่างเฉลี่ย = 00º – 00' – 02.5"
1. วางหมุดตั้งไม้ระดับ 2 จุด หมุด A และ B โดยมีระยะห่างกัน (L) ประมาณ 30-60 ม. การตรวจสอบกล้องระดับโดยวิธี Two Peg Test 2. ตั้งกล้องระดับที่ระยะกึ่งกลางระหว่างจุดตั้งไม้ระดับ (L/2) 3. อ่านค่าไม้ระดับบนหมุดทั้งสอง แล้วคำนวณค่า true height difference แนวเล็ง S2=1.153 S1= 1.251 Collimation Error (e) S’2 แนวราบ S’1 h1 B A L 4. ย้ายกล้องมาตั้งข้างนอก วัดระยะจากหมุด A ประมาณ L/10 = 3-6 ม. 5. อ่านค่าไม้ระดับบนหมุดทั้งสองอีกครั้ง แล้วคำนวณค่า height difference 6. คำนวณค่า Collimation Error (e) = [(S1- S2) - (S3- S4)] / L (มม./ม.) แนวเล็ง S4= 1.484 S3= 1.580 แนวราบ S’4 S’3 h2 B A ข้อแนะนำ ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ (e) จะต้องไม่เกิน 1มม.ต่อระยะทาง 20 ม. หากมีความคลาดเคลื่อนเกินกว่าที่กำหนด จะต้องทำการปรับแก้กล้องก่อนเริ่มงาน
ตัวอย่าง การปรับแก้สายใยของกล้องระดับให้อยู่ในแนวระนาบ การปรับแก้กล้องระดับโดยวิธี Two Peg Test (ต่อ) 1.กำหนดจุดตั้งกล้อง ตามรูป โดย ตอกหมุด A และ B ระยะห่างกัน 50 เมตร 2. อ่านค่าไม้ระดับ ที่จุด A และ B ดังข้อมูลต่อไปนี้ 2.1 เมื่อตั้งกล้องระดับที่จุดกึ่งกลางระหว่างหมุด A และ B ค่าไม้ระดับที่หมุด A (S1) = 1.251 ม. ค่าไม้ระดับที่หมุด B (S2) = 1.153 ม. 2.2 เมื่อตั้งกล้องระดับด้านนอกของหมุด A บนแนว AB ตั้งกล้องระดับ ห่างจากจุด A = 5 เมตร ค่าไม้ระดับที่หมุด A (S3) = 1.580 ม. ค่าไม้ระดับที่หมุด B (S4) = 1.484 ม. 3. หาค่าความคลาดเคลื่อนของแนวเล็งต่อระยะเล็ง 50.00 เมตร ค่าความคลาดเคลื่อนของแนวเล็ง (e) = (S1-S2) - (S3-S4) = (1.251 -1.153) – (1.580-1.484) = 0.002 ม. ต่อ 50.00 เมตร ( ความคลาดเคลื่อน < 1 มม. ต่อ 20 เมตร ) OK.
- ตั้งกล้องระดับที่ระยะกึ่งกลางระหว่างจุดตั้งไม้ระดับ โดยมีระยะห่างกัน (L) ประมาณ 30-60 ม. อ่านค่าไม้ระดับบนหมุดทั้งสอง แล้วคำนวณค่า height difference (h) = S1 – S2 S1 การปรับแก้กล้องระดับโดยวิธี Two Peg Test S1= 1.251 S2=1.153 h = 0.098 B A L - ย้ายกล้องมาตั้งข้างนอก วัดระยะจากหมุด A ประมาณ L/10 = 3-6 ม. อ่านค่าไม้ระดับ S3 บนหมุด A แล้วคำนวณค่าS4 = S3 - h จากนั้นอ่านค่าไม้ระดับบนหมุด B (S4) หากค่า S4 ที่อ่านได้ไม่ตรงกับค่า S4 ที่คำนวณได้ ให้ปรับแก้สายใยกล้อง ขั้นนตอนที่ 1) – 4) จนกระทั่งค่า S4 ที่อ่านได้มีค่าเท่ากับค่า S4 ที่คำนวณได้ หรือไม่เกินกว่าค่าความคลาดเคลื่อนที่กำหนดไว้ A S3= 1.580 S4= 1.482 B A ข้อแนะนำ: สำหรับกล้องระดับรุ่นอื่นๆ ให้ผู้สำรวจศึกษาวิธีการปรับแก้สายใยจากคู่มือการ ใช้งานของกล้องรุ่นนั้นๆ
ตัวอย่างการปรับแก้กล้องระดับ รุ่น NI 020 A การปรับแก้กล้องระดับโดยวิธี Two Peg Test (ต่อ) ถ้าสายใยราบมีความคลาดเคลื่อนเกินกว่าที่กำหนด ให้ทำการปรับแก้สายใยกล้องเบื้องต้น ดังนี้ 1) เปิดฝาครอบควงหมายเลข 10 2) ค่อยๆ คลายควงปรับแก้ หมายเลข 51 3) เลื่อนสายใยของกล้องด้วยควงปรับแก้หมายเลข 52 (กระทำพร้อมกัน) 4) ล็อคควงปรับแก้ หมายเลข 51 ให้แน่น ข้อควรระวัง: อย่าสัมผัสควงปรับแก้หมายเลข 53 ซึ่งมีเครื่องหมายเป็นจุดสีแดง 3 4 2 1 3
1.1.2 การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร • ตั้งกล้อง Theodoliteตามจุด PI ต่างๆ ที่หัวหน้าชุดสำรวจได้กำหนดไว้ • จดบันทึกค่าการวัดระยะต่างๆ ค่ามุมเบี่ยงเบน และคำนวณโค้งในสนาม • กำหนดจุดอ้างอิง พร้อมทั้งอ่านมุม วัดระยะ และจดบันทึก • ควบคุมการวัดระยะในแต่ละจุดที่กำหนด Sta. บนแนวสำรวจ หัวหน้าชุดสำรวจ • ตรวจสอบสายทางที่จะทำการสำรวจ เก็บข้อมูล • วางแผนการสำรวจ • เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจ • ควบคุมการสำรวจให้ได้ตามแผนงาน • กำหนดแนวสำรวจและจุดที่จะต้องเบนมุม (PI) • ดำเนินการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ทีมงานจัดเก็บข้อมูลแนวทาง (Alignment Parties)
1.1.2 การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ทีมงานจัดเก็บข้อมูล BM และ Profile (BM & Profile Parties) • กำหนด จัดทำหมุดระดับสมมุติ (BM) จดบันทึกตำแหน่งของ BM โดยอ้างอิงจากระยะบนถนนที่วางแนวสำรวจ • อ่านค่าระดับบนแนวสำรวจ โดยทำงานร่วมกับทีมงานจัดเก็บข้อมูลรูปตัดตามขวาง • ถ่ายค่าระดับไปยังหมุดระดับสมมุติต่างๆ (BM) • คำนวณค่าต่างระดับของหมุดระดับสมมุติ (BM) • คำนวณค่าระดับตามยาวของถนนที่ทำการสำรวจ • เขียนรูปตัดตามยาว (Profile) ในแต่ละจุด Sta. ที่กำหนดบนแนวสำรวจ
1.1.2 การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร • จดบันทึกสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่อยู่ในเขตทาง เช่น รั้ว, ท่อ คสล. ชนิดกลม, ท่อ คสล. ชนิดเหลี่ยม, สะพาน, อาคาร, เสาไฟฟ้า เป็นต้น โดยใช้ระยะจากแนวสำรวจเป็นหลัก ทั้งนี้จะต้องระบุเป็น กม.ที่…… และ ระยะห่างซ้ายทางหรือขวาทางในแนวตั้งฉากกับแนวถนน ทีมงานจัดเก็บข้อมูลรูปตัดตามขวาง (Cross Section Parties) • กำหนดตำแหน่งการวางไม้อ่านค่าระดับ (Staff) ณ จุดต่างๆตามขวางที่มีการเปลี่ยนแปลงของค่าระดับ • จดบันทึกระยะของรูปตัดตามขวางที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าระดับ (โดยทำงานร่วมกับทีมงานจัดเก็บข้อมูล BM และ Profile ) • เขียนรูปตัดตามขวาง (Cross Section) ในแต่ละจุด Sta. ที่กำหนดบนแนวสำรวจ ทีมงานจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดภูมิประเทศ (Photographic Parties)
1.1.3 การเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลเบื้องต้น
คำขอและแผนงานการสำรวจคำขอและแผนงานการสำรวจ
การมีส่วนร่วมภาคประชาชนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
1.2.1 ข้อพิจารณาในการเลือกแนวทาง • ต้องรู้ถึงมาตรฐานของทางที่จะทำการออกแบบและนโยบายในการสร้างที่จะทำการสำรวจนี้ เพื่อที่จะวางแนวทางให้ได้ตามจุดประสงค์โดยให้ถูกหลักวิชาการมากที่สุด • ตั้งความมุ่งหมายไว้ว่าจะต้องให้ประชาชนสองข้างทางได้ประโยชน์มากที่สุด และต้องให้ผ่านชุมชนให้มากที่สุดที่จะทำได้ • ในทางปฏิบัติมีข้อจำกัดแนวเขตทางทำให้ไม่สามารถกำหนดแนวทางได้ตามความมุ่งหมาย ฉะนั้นการเลือกแนวทางให้ถูกต้องตามหลักวิชาการย่อมทำไม่ได้ จึงต้องเลือกแนวทางให้เหมาะสม โดยใช้ดุลยพินิจของหัวหน้าชุดสำรวจและผู้ออกแบบเห็นด้วยมากที่สุด เพื่อให้ได้แนวทางที่ดี และแก้ไขแนวทางน้อยที่สุด
1.2.2 ชั้นและความละเอียดของงาน • Alignment ( Opened Traverse) งานชั้นที่ 3 • Angular Error ไม่เกิน 30”√ N (N=จำนวนหมุดที่ตั้งกล้อง) • Bench Mark and Profile Leveling งานชั้นที่ 3 • ทำไปกลับผิดได้ไม่เกิน ±12 mm.√K (K=ระยะทางเป็น กม.) • Cross - Section งานชั้นที่ 3 • ทำไปกลับผิดได้ไม่เกิน ±100 mm.√K(K=ระยะทางเป็น กม.) • Topographic (Horizontal Detail) งานชั้นที่ 4 • โดยมากไม่มีการตรวจสอบ
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • แนวทางควรมีส่วนที่เป็นเส้นตรงให้มากที่สุดที่จะทำได้ • ถ้าจำเป็นต้องมีโค้งก็ต้องใส่โค้งให้มีรัศมีมากที่สุดจะมากได้ และอย่างน้อยต้องมีรัศมีที่จะให้ความปลอดภัยในการขับขี่ ถูกต้องตามหลักวิชาการเกี่ยวกับ Super Elevation และ Sight Distance ตามมาตรฐาน Design Speed ของทางและเขตขยายทางของทางที่ต้องการ (ดูรายละเอียดทฤษฎี และการคำนวณหารัศมีของโค้ง) • ไม่ควรให้มีโค้งที่มีค่า Intersection มาก (Sharp Curve) ในแนวทางที่เป็นเส้นตรงโดยตลอด ถ้าเป็น Sharp Curve ควรใช้ Three Centered Curve แทน
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • ในกรณีที่ PI มีค่า Intersection () น้อย ต้องใส่โค้งให้มีความยาวโค้งอย่างน้อยตามกำหนดต่อไปนี้ - ค่า Intersection = 5 L = 150 เมตร - ค่า Intersection = 4 L = 180 เมตร - ค่า Intersection = 3 L = 220 เมตร - ค่า Intersection = 2 L = 250 เมตร - ค่า Intersection = 1ไม่ต้องใส่โค้ง • แนวทางไม่ควรเป็นโค้ง ตรงที่จะต้องเป็นทางแยกหรือทางร่วม • จุดปลายโค้ง (PT) หรือจุดต้นโค้ง (PC) ควรอยู่ห่างจากตลิ่งของทางน้ำที่เห็นว่าจะต้องสร้างสะพานอย่างน้อย 100 เมตร
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • ความยาวโค้งจะต้องไม่เกิน 1 กิโลเมตร และความยาวโค้งที่น้อยที่สุดจะต้องไม่น้อยกว่า 150 เมตร เพื่อที่จะให้ความยาวของโค้งได้ 150 เมตร ในขณะที่มุม Intersection มีค่าน้อยนั้น บางครั้งอาจจะใช้รัศมียาวประมาณ 150 เมตร ในขณะที่มุม Intersection น้อยกว่า 59 ลิปดา ก็ไม่จำเป็นต้องมีโค้ง • Compound Curve ถ้าเป็นไปได้ควรจะหลีกเลี่ยง รัศมีโค้งจะเท่ากับ 300 เมตร หรือน้อยกว่านี้เล็กน้อย แต่ความยาวของรัศมีอันสั้นจะต้องยาวประมาณ 2 ใน 3 ของรัศมีอันยาว และผลรวมของความยาวโค้งทั้งสองจะต้องไม่น้อยกว่า 150 เมตร
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • Reverse Curve ที่มีจุด PRC หรือจุด PT โค้งแรกทับกับ PC ของโค้งที่สองไม่ควรใช้ ควรจะหลีกเลี่ยงโดยให้ทั้งสองห่างกันอย่างน้อย 90 เมตร อย่างไรก็ตามในบริเวณภูเขาอาจจะทำไม่ได้ เพราะฉะนั้นฝายออกแบบจะต้องตัดสินใจโดยอาศัย Super Elevation ประกอบในการตัดสินใจ หรือให้เส้น Tangent ระหว่างโค้งทั้งสองห่างหัน = 0.6 V ม. เมื่อ V = ความเร็ว km/h • Broken Back Curve เป็นโค้งสองโค้งที่มีจุดศูนย์กลางของโค้งอยู่ทางเดียวกัน ถ้าโค้งสองโค้งอยู่ใกล้ๆ กันจะไม่ปลอดภัย เพราะ Sight Distance ไม่ดีเส้นตรงระหว่างโค้งสองโค้ง จะต้องยาวไม่น้อยกว่า 100 เมตร ถ้าน้อยกว่านี้ก็ให้ใช้ Simple Curve หรือ Compound Curve หรือโค้งทั้งสองห่างกัน = 0.75 V เมตร
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • Spiral Curve สำหรับทางหลวงสายนอกเมืองหรือ Secondary Highway จะไม่ใช้นอกจากวิศวกรจะแนะนำให้ใช้ • การวางแนวบริเวณสะพาน ที่บริเวณสะพานจะไม่ยอมให้จุดเริ่มต้นโค้งหรือจุดปลายโค้งอยู่บนสะพาน และถ้าโค้งใกล้สะพาน จะต้องห่างจากสะพานเป็นระยะเท่ากับที่ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของ Super Elevation อยู่บนสะพานเลย และถ้าหากว่าสะพานจำเป็นต้องอยู่ในโค้ง จะต้องให้รัศมีของโค้งมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ แต่ห้ามใช้ Compound Curve • แนวทางไม่ควรผ่านไปในที่ลุ่มต่ำ ซึ่งต้องถมสูงเป็นระยะยาว ถ้าจำเป็นต้องผ่านแนวทางช่วงนั้นก็ไม่ควรจะมีโค้ง แต่ถ้าจำเป็นต้องมีก็ให้เป็นโค้งที่มีค่า Intersection น้อยที่สุดที่จะทำได้
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • แนวทางไม่ควรผ่านบริเวณที่เห็นว่าเป็นดินอ่อน (Soft Soil) เป็นช่วงยาว • แนวทางผ่านลำน้ำ ควรจะให้ตั้งฉากกับลำน้ำ ถ้าจำเป็นต้อง Skew ก็ให้ Skew น้อยที่สุด สำหรับลำน้ำเล็ก Skew ได้ไม่เกิน 30 องศา ถ้าลำน้ำใหญ่ก็ไม่เกิน 20 องศา • แนวทางไม่ควรไต่ไปตามพื้นซึ่งชันกว่าความชันตามมาตรฐาน ของถนนชนิดนั้นๆ มากเกนไปและเป็นระยะทางยาว ๆ ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณงานดินที่ต้องขุด • แนวทางที่ผ่านหมู่บ้าน ต้องพยายามอย่าให้เฉียดแนวบ้านข้างใดข้างหนึ่งมากเกินไปจนเป็นเหตุให้ต้องมีการรื้อถอนเมื่อก่อสร้าง
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขา แนวทางไม่ควรผ่านหุบเขา ควรจะเลาะไปตามไหล่เขา เพื่อลดปริมาณงานดินที่จะต้องก่อสร้าง และป้องกันน้ำท่วมในหน้าฝน • แนวทางไม่ควรเลียบใกล้ตามตลิ่งของลำน้ำที่มีการกัดเซาะสูงและชัน • แนวทางที่ต้องข้ามลำน้ำกว้าง ไม่ควรข้ามลำน้ำในระดับสูงกว่าท้องน้ำมาก ๆ เช่น แนวทางที่โยงข้ามแม่น้ำจากสันเขาริมน้ำทั้ง 2 ฝั่ง เพราะมีปัญหาในการออกแบบสะพานที่มีตอม่อกลางน้ำ ควรจะผ่านบริเวณน้ำตื้น ๆ • ไม่ควรให้ Horizontal Curve และ Vertical Curve อยู่ในที่เดียวกัน เพราะทำให้บังคับรถลำบาก และไม่ปลอดภัย
1.2.3 การเลือกแนวทางที่ดี • บริเวณทางร่วมหรือทางแยก มุมตัดกันไม่ควรต่ำกว่า 20 องศา และควรจะเป็นบริเวณที่ราบ ถ้ามีความลาดก็ไม่เกิน 3% และถ้าเป็นโค้งก็ต้องเป็นโค้งที่มีรัศมีมาก ๆ โดยไม่ต้องมี Super Elevation , Degree of Curve ไม่เกิน 6 องศา • หลีกเลี่ยงบริเวณที่เป็นโบราณสถาน ปูชณียสถาน วัด โบสถ์ ป่าช้า โรงเรียน • การตรวจสอบทิศทางใช้ข้อกำหนดของวงรอบ Third Order
1.2.4 การสำรวจโค้งทางราบ (Horizontal Curve) • โค้งวงกลม (Circular Curve) • โค้งผสม (Compound Curve) • โค้งหลังหัก (Broken Back Curve) • โค้งผสมย้อนทาง (Reverse Curve) • โค้งก้นหอย (Spiral Curve)
โค้งผสม (Compound Curve) โค้งผสมมี 2 ศูนย์กลาง โค้งผสมมี 3 ศูนย์กลาง
วิธีปฏิบัติงานในสนาม RP.1 RP.2 RP.1 CL CL 2 D 2 3 ตั้งค่ามุมกล้อง=00-00-00 ตั้งค่ามุมกล้อง=00-00-00 RP.3 อ่านค่ามุมAz RP.2 RP.3 1 ตั้งค่ามุมกล้อง=00-00-00 RP.3 D RP.2 1 3 CL Sta.. 0+000 RP.1
โค้งวงกลม ( Circular Curve ) สูตรที่ใช้ในการคำนวณหาค่าต่างๆในการวางโค้ง กรณี SIMPLE CURVE PI ∆ E T T L M PT PC LC R R ∆ O
การออกแบบโค้งในสนาม กรณี SIMPLE CURVE ออกแบบโดยกำหนดค่า D , T , E หมายเหตุการกำหนดค่า D เป็นจำนวนเต็ม จะง่ายต่อการวางโค้งในสนาม
PI PT PC T T PT PC L X X = ระยะส่วนที่แตกต่าง = 2 x T - L การออกแบบโค้งในสนาม กรณี SIMPLE CURVE ออกแบบโดยกำหนดค่า D , T , E ระยะทดจาก PI = (STA. ต่อไป – STA. PI) + (2 x T - L)
1.2.5 การยกโค้ง (Super Elevation) = ( e = f ) e = โดยที่ emaxตัองไม่เกิน 0.10 เมื่อ V = ความเร็ว (กม./ชม.) e = อัตราการยกโค้งของผิว ทาง (ม./ม.) f = สปส. ความเสียดทาน ระหว่างล้อกับถนน R = รัศมีของโค้งราบ (ม.)
อัตราการยกโค้งที่เหมาะสมอัตราการยกโค้งที่เหมาะสม อัตราการยกโค้งสูงสุดที่ AASHTO แนะนำให้ใช้
วิธีการยกขอบทางโค้ง วิธีการยกขอบถนนอาจจะกำหนดจุดหมุนได้ 3 ตำแหน่ง ดังนี้ • ใช้เส้นแบ่งครึ่งถนนเป็นจุดหมุน (Center Line) • ใช้ขอบถนนด้านในเป็นจุดหมุน (Inner Edge) • ใช้ขอบถนนด้านนอกเป็นจุดหมุน (Outer Edge)
ใช้เส้นแบ่งครึ่งถนนเป็นจุดหมุน (Center Line) เป็นวิธีที่นิยมใช้
ใช้ขอบถนนด้านในเป็นจุดหมุน (Inner Edge)
ใช้ขอบถนนด้านนอกเป็นจุดหมุน (Outer Edge)
ภาพตัดถนนแสดงการยกโค้งที่ระยะต่างๆภาพตัดถนนแสดงการยกโค้งที่ระยะต่างๆ
การยกโค้งในทางโค้งวงกลมการยกโค้งในทางโค้งวงกลม กำหนดให้ เส้นแบ่งครึ่งถนน (Center line) ของถนนเป็นจุดหมุน FC = Full Crown W = ความกว้างของถนน e = Rate of Super Elevation V = ความเร็วออกแบบ กม./ชม. โดยที่ค่าของ S เปลี่ยนแปลงตามความเร็วของรถ เมื่อ Ts = Super Elevation Transition Ls = Length of Spiral HC = Half Crown FS = Full Super Elevation NC = Normal Crown
L/3 L/3 Area = 2/3*Wn*L การขยายขอบผิวจราจร (Widening in simple curve) ตามมาตรฐานการออกแบบของ American Association of State Highway officials ( 1984 ) กรณีไม่ยก Super. Wn PC. PT. L/3 Wn = 0.3048 * (1 + D / 10 ) : ปรับให้Wn = 0.50 , 0.75 , 1.00 , 1.25 , 1.50 m.
การขยายขอบผิวจราจร (Widening in simple curve) กรณียก Super FS > L/3 FULL SUPPER REM. TO FS. FS. Wn TS TS PC. PT. FULL WIDENING ATT. TO NC. NC. Wn = 0.3048 * (1 + D / 10 ) : ปรับให้Wn = 0.50 , 0.75 , 1.00 , 1.25 , 1.50 ม.