1.14k likes | 2.41k Views
เศรษฐศาสตร์การจัดการ. (Managerial Economics). โดย. รองศาสตราจารย์จรินทร์ เทศวานิช. ขอบเขตของการสัมมนาครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1 ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์อุปสงค์ หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต หน่วยที่ 5 โครงสร้างตลาด
E N D
เศรษฐศาสตร์การจัดการ (Managerial Economics) โดย... รองศาสตราจารย์จรินทร์ เทศวานิช
ขอบเขตของการสัมมนาครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1 ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์อุปสงค์ หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต หน่วยที่ 5 โครงสร้างตลาด หน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ราคาและการตัดสินใจของหน่วยธุรกิจ หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ
ขอบเขตของการสัมมนาครั้งที่ 2 หน่วยที่ 8 ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ หน่วยที่ 9 กลยุทธ์ด้านการจัดการและการแข่งขันทางธุรกิจ หน่วยที่ 10 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินธุรกิจ หน่วยที่ 11 เทคนิคการหาผลลัพธ์ทางธุรกิจที่ดีที่สุด หน่วยที่ 12 การพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจในอนาคต หน่วยที่ 13 งบประมาณการลงทุนและการวิเคราะห์การลงทุนในระยะยาว ของหน่วยธุรกิจ หน่วยที่ 14 การตัดสินใจภายใต้ภาวะความเสี่ยงและความไม่แน่นอน หน่วยที่ 15 บทบาทของรัฐกับการจัดการทางธุรกิจ
หน่วยที่ 1 ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ • แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การจัดการ • บทบาทของเศรษฐศาสตร์การจัดการในการดำเนินธุรกิจ • เงื่อนไขด้านเวลา สถานการณ์และแบบจำลองของ • เศรษฐศาสตร์การจัดการ
ความหมายของเศรษฐศาสตร์การจัดการความหมายของเศรษฐศาสตร์การจัดการ เศรษฐศาสตร์การจัดการเป็นการประยุกต์ระหว่างความรู้ด้านทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และความรู้ด้านศาสตร์ของการตัดสินใจเข้าด้วยกัน เพื่อนำไปวิเคราะห์หาคำตอบที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา
เศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์การจัดการเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์การจัดการ • ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค • ทฤษฎีหน่วยผลิต • ทฤษฎีโครงสร้างตลาด และการตั้งราคาสินค้า • ทฤษฎีการบริโภค • ทฤษฎีการลงทุน • ทฤษฎีเงินเฟ้อ • นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
เศรษฐศาสตร์การตัดสินใจเศรษฐศาสตร์การตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์การจัดการ • การวิเคราะห์ส่วนเพิ่มเพื่อหากำไรสูงสุด • การวิเคราะห์การถดถอย เพื่อประมาณการอุปสงค์ • การวิเคราะห์โดยโปรแกรมเชิงเส้น
ปัญหาการตัดสินใจในการบริหารปัญหาการตัดสินใจในการบริหาร แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ (กรอบการตัดสินใจ) ศาสตร์การตัดสินใจ (เครื่องมือและเทคนิคการวิเคราะห์) ศาสตร์การจัดการ ศำตอบที่ดีที่สุดสำหรับการแก้ปัญหา
เป้าหมายการดำเนินธุรกิจเป้าหมายการดำเนินธุรกิจ • ความมั่งคั่งสูงสุด • ยอดขายสูงสุด • การเติบโตมากที่สุดของธุรกิจ • การให้คุณค่าและบริการที่ดีที่สุด
หลักการพื้นฐานที่จะทำให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพหลักการพื้นฐานที่จะทำให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 1. การระบุเป้าหมายและเงื่อนไขที่ชัดเจน 2. การตระหนักและเข้าใจถึงกำไร 3. ความเข้าใจเรื่องแรงจูงใจ 4. ความเข้าใจในเรื่องตลาด 5. การตระหนักถึงมุลค่าของเงินตามระยะเวลา 6. การวิเคราะห์ส่วนเพิ่ม
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์การจัดการสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์การจัดการ • สถานการณ์ภายใต้ภาวะความเสี่ยง • สถานการณ์ภายใต้ภาวะความไม่แน่นอน
แบบจำลองที่ใช้ในเศรษฐศาสตร์การจัดการแบบจำลองที่ใช้ในเศรษฐศาสตร์การจัดการ • ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจ • ใช้เพื่อการอธิบาย • ใช้เพื่อการพยากรณ์
วิธีการแสดงความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์วิธีการแสดงความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางฟังก์ชัน : สมการ TR = f (Q)……(1) TR = P x Q , TR = 1.50 Q …..(2) สมการ (2) บอกให้ทราบว่ารายได้รวมเท่ากับ 1.5 เท่า ของปริมาณผลผลิตเสมอ เช่น ถ้า Q = 10 TR = 15 ถ้า Q = 100 TR = 150
ความสัมพันธ์ทางฟังก์ชัน : ตารางและรูปกราฟ รายได้รวม ผลผลิต 1.5 3.0 4.5 6.0 7.5 9.0 1 2 3 4 5 6
รายได้ (TR) TR รายได้รวม = 1.50x ผลผลิต 6.00 4.50 3.00 1.50 ผลผลิต (Q) 0 1 2 3 4
ความสัมพันธ์ระหว่างค่ารวมและค่าส่วนเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างค่ารวมและค่าส่วนเพิ่ม
กำไรรวม กำไรรวม ผลผลิต 0 กำไรต่อหน่วย กำไรเฉลี่ย ผลผลิต 0 กำไรส่วนเพิ่ม การแสดงความสัมพันธ์โดยวิธีกราฟ
ถ้าให้ X เป็นตัวแปรอิสระ Yเป็นตัวแปรตาม ส่วนเพิ่ม Y = Y อัตราส่วนนี้ชี้ให้ X เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของตัวการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระ 1 หน่วย Y X Y Y2 Y1 X X1 X2 0 Differential Calculus
การหาค่า Derivative คือการหาค่าอัตราส่วนของ Y ของ X การเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยของตัวแปรอิสระ ซึ่งเขียนเป็น สมการได้ว่า dY = limit Y dX X อ่านว่า Derivative ของ Y ต่อ X เท่ากับ lim ของอัตราส่วน Y X ขณะที่ X เข้าใกล้ศูนย์ X 0 Differential Calculus
Y X ส่วนเพิ่ม Y = Y 15 11 5 X 0 1 2 3 Y = f ( X ) Y = ผลผลิต X = ปุ๋ย
กฎของอนุพันธ์ ( Differentiation ) 1. ค่าคงที่ (Constant Function Rule) อนุพันธ์ของค่าคงที่จะเท่ากับศูนย์เสมอ ถ้า Y = k ซึ่ง k เป็นค่าคงที่ dY = 0 dX เช่น Y = 5 dY = 0 dX
กฎของอนุพันธ์ ( Differentiation ) • 2. สมการเส้นตรง (Linear Function Rule) อนุพันธ์ของสมการเส้นตรง Y= a+bx จะเท่ากับ b ค่า Coefficient ของ x • ถ้า Y= a+bx ,dY = b • dX • เช่น Y = 2+3x , dY = 3 • dX • Y = 5 - 1/4x , dY = -1/4 • dX • Y =12x , dY = 12 • dX
Y Y dY = 0 dX Y = 12x dY = 12 dX 5 Y=5 X X 0 0 Y Y = 5+2x Y dY = - 0.8 dX 7 dY = 2 dX 5 Y = 7- 0.8x X X 0 0
3. สมการยกกำลัง ( Power Function Rule) อนุพันธ์ของสมการยกกำลัง Y = axp จะเท่ากับกำลัง (P) คูณด้วย Coefficient a คูณด้วย X ส่วนกำลังนั้นจะถูกหักออกหนึ่งจะเหลือกำลังเท่ากับ p - 1 ถ้า Y = axpdY = pa xp-1 dX เช่น Y = 4x3 dY = 3(4)x3-1 = 12x2 dX
Y Y = 3X2 dY = 6X dX X 0
Y Y = 3+2X2 dY = 4X dX 3 X 0 Y = 12 + 3X2 + 7X3 dY = 6X + 21X2 dX
Higher - Order Derivatives Second- Order Derivatives d2 Y (อนุพันธ์อันดับ 2) dX2 วัดอัตราการเปลี่ยนแปลง (rate of exchange) ของอนุพันธ์อันดับแรก เช่นเดียวกับอนุพันธ์อันดับแรก วัดอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันเดิม จึงสรุปได้ว่า อนุพันธ์อันดับสูง วัดอัตราการเปลี่ยนแปลงของอนุพันธ์ที่ต่ำกว่า 1 อันดับ
ตัวอย่าง จากสมการ Y = 2X4 + 5X3 + 3X2 จงหาอนุพันธ์อันดับที่ 1 - 5 อนุพันธ์อันดับที่ 1dY , Y/ หรือ f/(X) dX dY = 8X3 + 15X2 + 6X dX อนุพันธ์อันดับที่ 2d2 Y , Y// หรือ f//(X) dX2 d2Y = 24X2 + 30X + 6 dX2
อนุพันธ์อันดับที่ 3d3Y , Y/// หรือ f///(X) dX3 d3Y = 48X+ 30 dX3 อนุพันธ์อันดับที่ 4d4Y , Y//// หรือ f////(X) dX4 d4Y = 48 dX4 อนุพันธ์อันดับที่ 5 d5Y , Y///// หรือ f/////(X) dX5 d5Y = 0 dX5
ประโยชน์ของแคลคูลัสในการแก้ปัญหาประโยชน์ของแคลคูลัสในการแก้ปัญหา เราสามารถใช้เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดของทั้งปัญหาการทำกำไรสูงสุดและการเสียต้นทุนต่ำสุด การหา Derivative ของฟังก์ชันใดๆ คือการหาความลาดหรือการหาส่วนเพิ่ม ณ จุดใด ๆ ณ จุดสูงสุดของเส้นโค้ง ความลาดเท่ากับศูนย์ ดังนั้นกำไรสูงสุดหรือต้นทุนต่ำที่สุดอยู่ที่ Derivative ของฟังก์ชันนั้นเท่ากับศูนย์
ตัวอย่าง = - 10,000 + 400Q - 2Q2 = กำไร Q= ปริมาณผลผลิต กำไรรวม = - 10,000 + 400Q - 2Q2 ความลาด = กำไรส่วนเพิ่ม = d = 400 - 4Q = 0 dQ เมื่อ Q = 100 หน่วย ผลผลิต 28 100 172 -10,000 ความสัมพันธ์ระหว่างกำไรกับผลผลิต
Second - Order Derivative ถ้า = a - bQ +cQ2 - dQ3 d = -b + 2cQ - 3dQ2…. first dQ d2 = 2c - 6dQ ….second dQ2
จำนวนเงิน กำไรรวม B = a - bQ + cQ2 - dQ3 0 ผลผลิต A จำนวนเงิน 0 ผลผลิต A B กำไรส่วนเพิ่ม d = -b + 2cQ - 3dQ2 dQ การกำหนดค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน
= a + bQ + cQ2 +dQ3 = -3,000 - 2,400Q + 350Q2 -8.3Q3 d = -2,400 + 700Q -25Q2 dQ การหา Q หรือจำนวนหน่วยที่จะให้ได้รับกำไรสูงสุดหรือต่ำสุด Q = -b + b2 - 4ac 2c Q = -700 + 7002 - 4 (-2400) (-25) 2(-25) Q = 4 , 24
ตัวอย่างฟังก์ชันกำไรรวม = -3,000 - 2,400Q + 350Q2 - 8.333Q3 การหากำไรส่วนเพิ่ม จาก First - order derivative d = -2,400 + 700Q -25Q2 dQ กำไรรวมมีค่าสูงสุดหรือต่ำสุด เมื่อ First - order derivative มีค่าเท่ากับศูนย์ d = -2,400 + 700Q -25Q2 = 0 dQ Q = 4 , 24 จำนวนที่จะทำให้กำไรสูงสุดหรือต่ำสุด
เราจะหาค่าของ Second - order Derivative เพื่อสูจน์ว่าค่าที่ได้เป็นค่าสูงสุดหรือต่ำสุด d2 = 700 - 50Q dQ2 ถ้า Q = 4 d2 = 700 - 50(4) = 500 dQ2 ค่าเป็น + แสดงว่ากำไรส่วนเพิ่มกำลังเพิ่มขึ้น กำไรรวมมีค่าต่ำสุด ณ จุดผลผลิตเท่ากับ 4 หน่วย ( ดูที่จุด A ดังรูป ) ถ้า Q = 24 d2 = 700 - 50(24) = - 500 dQ2 ค่าเป็น - แสดงว่ากำไรส่วนเพิ่มกำลังลดลง ฟังก์ชันกำไรรวมได้ถึงจุดสูงสุดแล้ว ( ดูที่จุด B )
การใช้ Derivative หาผลต่างของฟังก์ชัน 2 ฟังก์ชัน ณ จุดที่ห่างที่สุด จำนวนเงิน TC TR MC ผลผลิต 0 QA QB QC MR จำนวนเงิน Marginal Profit (M ) = Slope = 0 ที่ QB Total Profit ผลผลิต 0 QA QB QC
ตัวอย่างTR = 41.5 Q - 1.1 Q2 TC = 150 + 10 Q - 0.5 Q2 + 0.02 Q3 = TR - TC กำไรสูงสุดหาโดยเอา ไปหา First - order derivative และ Second - order derivative = TR - TC = 41.5Q - 1.1 Q2 - (150 + 10 Q - 0.5 Q2 + 0.02 Q3) = -150 + 31.5 Q - 0.6 Q2 - 0.02 Q3
First - order derivative กำไร ได้ d = 31.5 - 1.2 Q - 0.06 Q2 dQ ให้ 31.5 - 1.2 Q - 0.06 Q2 = 0 Q = -35 , +15 ค่า Q = -35 เป็นไปไม่ได้ ผลผลิตจะไม่ติดลบ เพราะ ฉนั้นเราใช้ได้เฉพาะค่า Q = 15 เท่านั้น
ต่อไปจะหา Second - order derivative ณ Q = 15 ที่ทำให้รู้ว่ากำไรที่ได้เป็นค่าสูงสุดหรือต่ำสุด d2 = -1.2 - 0.12 Q dQ2 เมื่อ Q = 15 จะได้ d2 = -3.0 ดังนั้น Q = 15 dQ2 กำไรจะ สูงสุด
การหาค่าสูงสุดอาจหาจาก MR และ MC ดังนี้ MR = dTR = 41.5 - 2.2 Q dQ MC = dTC = 10 - Q + 0.06 Q2 dQ ระดับผลผลิตที่ดีที่สุดจะอยู่ที่ MC = MR ดังนั้น 10 - Q + 0.06 Q2 = 41.5 - 2.2 Q - 31.5 + 1.2 Q + 0.06 Q2 = 0
เท่ากับการทำ First - order derivative ของฟังก์ชันกำไร แล้วกำหนดให้เท่ากับศูนย์และหาคำตอบจะเป็นค่าเดิม คือ Q1 = -35 และ Q2 = 15 เป็นการพิสูจน์ว่า เมื่อ MR = MC ผลผลิตที่ได้จะทำให้เกิดกำไรสูงสุด เพื่อให้เกิดความเข้าใจ จะพิจารณาได้ดังรูป ที่ระดับการผลิต 15 หน่วย ความลาดชันของเส้นทั้งสองเท่ากัน คือ MC = MR ฟังก์ชันกำไรผลผลิตที่ดีที่สุดคือ 15 หน่วย และเป็น ผลผลิต ณ d = 0 และ d2 < 0 dQ dQ2
Profit - Maximizing Output Condition กำไรสูงสุดที่ Q = 15 เมื่อ MC = MR และ M = 0 จำนวนเงิน MC at Q = 15 TC TR MC MC at Q = 15 * MR = MC at Q = 15 ผลผลิต 0 MR จำนวนเงิน Marginal Profit = 0 at Q= 15 Total Profit ผลผลิต 0
ในกรณีที่แบบจำลองมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว เช่น Q = f(P,A) Q = ปริมาณ P = ราคา A = ค่าโฆษณา เราสามารถทำ Partial Derivative ได้ 2 ครั้ง คือ 1.Q โดยให้การโฆษณาคงที่ P 2. Q โดยให้ราคาคงที่ A ตัวอย่าง Y = 10 - 4X + 3XZ - Z2 1. Y = -4 + 3Z X 2. Y = 3X - 2Z X Partial Derivative
การหาค่าสูงสุดของฟังก์ชันที่มีตัวแปรหลายค่าการหาค่าสูงสุดของฟังก์ชันที่มีตัวแปรหลายค่า วิธีการหาต้องทำให้ First - order Derivative เท่ากับศูนย์ ดังนั้นค่าสูงสุดของฟังก์ชัน Y = f ( X , Z ) คือ Y = 0 และ Y = 0 X Z ตัวอย่าง Y = 4X + Z - X2 + XZ - Z2 Y = 4 - 2X + Z X Y = 1 + X - 2Z Z เพื่อให้สมการมีค่าสูงสุด ให้ Partial = 0
Y = 4 - 2X + Z = 0 ….. (1) X และ Y = 1 + X - 2Z = 0 ….. (2) X นำทั้ง 2 สมการไปหาค่า X = 3 และ Z = 2 เป็นค่าสูงสุด แทนค่า X และ Z ในสมการ Y จะได้ Y = 7 ดังนั้นค่าสูงสุดของ Y คือ 7 Y A Z 7 2 3 X
การวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยการวิเคราะห์ความเสี่ยงภัย ความเสี่ยงภัย หมายถึง ความผันแปรของเหตุการณ์ ถ้าคิดว่าเหตุการณ์ในอนาคตมีความผันแปรมาก ความเสี่ยงภัยจะสูง การกระจายความน่าจะเป็น การวัดโอกาสที่จะเป็นไปได้ของการพยากรณ์ เรียกว่า “ความน่าจะเป็น” ซึ่งมีค่า 0 - 1 ถ้า 0 หมายถึง เหตุการณ์จะไม่เกิดขึ้น ถ้า 1 หมายถึง เหตุการณ์เกิดขึ้นแน่นอน
การเปรียบเทียบความเสี่ยงภัยการเปรียบเทียบความเสี่ยงภัย ผลตอบแทนจากโครงการ ก และ ข ภาวะเศรษฐกิจ ผลตอบแทน ( ล้านบาท ) โครงการ ก โครงการ ข ตกต่ำ 400 0 ปรกติ 500 500 รุ่งเรือง 600 1,000
จากข้อมูลข้างต้น จะนำมาเขียนเป็นกราฟ โดยโครงการ ก เริ่มตั้งแต่ 400 ถึง 600 บาท โดยมีค่าเฉลี่ย 500 บาท ส่วนโครงการ ข เท่ากับ 500 บาท เหมือนกัน แต่ช่วงของกำไรจะเริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่ 0 ถึง 1,000 บาท ดังรูป