1.93k likes | 3.61k Views
การบริหารทรัพ ย ากรทางการศึกษา. รศ.ดร.พรพิพัฒน์ เพิ่มผล Pornpipat _pak@hotmail.co.th. การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา Administration of Educational Resources. การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา.
E N D
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา รศ.ดร.พรพิพัฒน์ เพิ่มผล Pornpipat _pak@hotmail.co.th
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาAdministration of Educational Resources.
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา ทรัพยากร หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของคน วัสดุ เงิน หรืออี่นๆที่จะเป็นเครื่องช่วยในการดำเนินงานขององค์การสำเร็จได้ ทรัพยากรในการบริหาร ที่สำคัญคือ 4 Ms ได้แก่ คน(Man) เงิน (Money) วัสดุสิ่งของ ( Material) และการจัดการ ( Management) ทรัพยากรทางการศึกษา ก็คือ คน เงิน วัสดุสิ่งของ และ การจัดการ ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
ความสำคัญของทรัพยากรทางการศึกษาความสำคัญของทรัพยากรทางการศึกษา 1 ทำให้สถานศึกษาดำเนินการเรียนการสอนหรือพัฒนาคนให้มีคุณภาพ และได้ผลตามความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา 2 เป็นการช่วยส่งเสริมงานวิชาการให้มีคุณภาพ 3 ส่งเสริมการดำเนินงานด้านอื่นๆในสถานศึกษา 4 เป็นตัวกลางที่กระตุ้นทำให้กิจกรรมของสถานศึกษาดำเนินไปได้ 5 มีบทบาทต่อการดำเนินภารกิจของสถานศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
แหล่งทรัพยากรทางการศึกษาแหล่งทรัพยากรทางการศึกษา 1 งบประมาณแผ่นดิน 2 เงินนอกงบประมาณ 3 เงินจากการลงทุน 4 ทรัพยากรจากชุมชน
การบริหารทรัพยากรการศึกษาการบริหารทรัพยากรการศึกษา การบริหารทรัพยากร : การพยามใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลมากที่สุด กระบวนการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา 1.กำหนดนโยบาย 2.เป้าหมาย 3.กำหนดความต้องการ 4.การแสวงหา 5.การจัดสรร 6.การควบคุม 7.การประเมินการใช้
หลักการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาหลักการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา - ความเสมอภาค - ความเป็นธรรม - ประสิทธิภาพ - ประสิทธิผล
ผู้บริหารการศึกษากับการบริหารการศึกษาผู้บริหารการศึกษากับการบริหารการศึกษา 1. ภารกิจและความรับผิดชอบ - วางแผน - การแสวงหา - การจัดสรร - การใช้ - การประเมิน 2. ผู้บริหารการศึกษาต้องรู้จักแสวงหาแหล่งสนับสนุนทรัพยากร - ภายใน : โรงเรียน หน่วยเหนือ - ภายนอก : ชุมชน ห้างร้าน บริษัท ต่างประเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ 1. ความหมาย 1.1 แนวกว้าง ประชากรทั้งหมดของประเทศ 1.2 แนวแคบ ประชากรที่เน้นความต้องการ แรงงงาน ซึ่งมีอายุ 15-60 ปี รวมถึงผู้ประกอบการที่มีความคิดริเริ่ม 2. ปริมาณทรัพยากรมนุษย์ 1) ขนาดของประชากร - ประชากรมาก : ทรัพยากรมาก - ประชากรน้อย : ทรัพยากรน้อย 2) ปัจจัยที่มี สิทธิผลต่อ ปริมาณของประชากรและทรัพยากรมนุษย์ - การเกิด - การตาย - การย้ายถิ่น
แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ 3. คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ พิจารณาจาก 1) ด้านสุขภาพร่างกาย 2) การศึกษาอบรมที่ดี 3) ความสามารถด้านการบริหารจัดการ 4) มีทัศนคติและแรงจูงใจที่เหมาะสม 4. ทุนทางด้านทรัพยากร 1) ทุนมนุษย์ : เป็นนามธรรมไม่สามารถจับต้องได้ ไม่สามารถซื้อขายได้ ได้แก่ ความรู้ ความชำนาญ ทักษะ ประสบการณ์ ลักษณะนิสัย สุขภาพอนามัย 2) ทุนทั่วไป ได้แก่ เครื่องจักร เงิน เป็นต้น
ประเด็นปัญหาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาประเด็นปัญหาการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา 1.ด้านความเสมอภาค : ความเท่าเทียม 2.ด้านความเป็นธรรม : ความมีโอกาสเท่ากัน 3.ด้านคุณภาพ :ร.ร.ในเมือง กับ ร.ร.ในชนบท ร.ร.ขนาดใหญ่ กับ ร.ร.ขนาดเล็ก ร.ร.ที่มีครูครบชั้น กับ ร.ร.ที่มีครูไม่ครบชั้น ร.ร.ที่มีทรัพยากร กับ ร.ร.ที่ไม่มีทรัพยากร ใหญ่ : เล็ก เล็ก : ใหญ่ 4. การบริหารโดยไม่จัดลำดับความสำคัญ
การบริหารทรัพยากรของสถานศึกษาการบริหารทรัพยากรของสถานศึกษา ความหมาย ทรัพยากร (Resource) หมายถึง ความรู้ เทคโนโลยี อำนาจ วัสดุ อุปกรณ์ คน เวลา การประเมิน ข้อมูลและเงิน (Bryan I. Caldwell and Jim shrink) * การบริหารทรัพยากรเป็นหัวใจ ของการบริหาร และจัดการศึกษา
ประเภทของทรัพยากรระดับโรงเรียนประเภทของทรัพยากรระดับโรงเรียน ทรัพยากรมี 2 ประเภทได้แก่ 1.ทรัพยากรที่เป็นตัวเงิน (In Cash) ได้แก่ เงินงบประมาณ เงินบริจาค เป็นต้น 2.ทรัพยากรที่ไม่เป็นตัวเงิน (In Kind) ได้แก่ความคิด คำแนะนำ ความร่วมมือที่ได้จากภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้และวัสดุต่างๆ ในชุมชนที่นำมาใช้จัดการเรียนการสอน
ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรในสถานศึกษาประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรในสถานศึกษา ประสิทธิภาพ : เปรียบเทียบผลที่ได้กับทรัพยากรที่ใช้ไป : ผลผลิตได้มากที่สุด ใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด ประสิทธิผล : มุ่งเน้นการได้ผลตามที่ต้องการซึ่งกำหนด ไว้ในนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
ระบบการบริหารแบบมุ่งเน้นผลงานระบบการบริหารแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance – Base – Budgeting หรือ PBB มีลักษณะดังนี้ 1. ให้อิสระแก่ผู้บริหารในการบริหารจัดการ 2. ให้ความรับผิดชอบต่อความสำเร็จของผลงาน โดยเชื่อมโยง ทรัพยากรที่ใช้กับผลงานหรือผลผลิตที่ได้รับ ความสำเร็จ ตามนโนบาย ผลผลิต + ผลลัพธ์
การบริหารงานบุคลากร กระบวนการบริหารงานบุคลากร ดังนี้ 1.การวางแผนกำลังคน 2.การสรรหา 3.คัดเลือก 4.บรรจุแต่งตั้ง
การบริหารงานบุคลากร กระบวนการบริหารงานบุคลากร ดังนี้ 5.การมอบหมายงาน 6.การพัฒนาหรือฝึกอบรม 7.การให้ค่าตอบแทนและ 8.การประเมินผลงาน
การบริหารบุคลากรทางการศึกษาการบริหารบุคลากรทางการศึกษา คือ การดำเนินการเกี่ยวกับตัวบุคคลในทางการศึกษา นับตั้งแต่การสรรหาบุคคล มาปฎิบัติงาน การบรรจุและแต่งตั้ง การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฎิบัติงาน การพิจารณาให้บุคคลพ้นจากงาน ขอบข่ายการบริหารบุคคลากร 1 การวางแผนและการกำหนดอัตรากำลัง 2 การสรรหาและเลือกบุคลากรทางการศึกษา 3 การนิเทศงานและพัฒนาบุคลกรทางการศึกษา 4 การประเมินผลการการปฎิบัติงานและการให้บุคคลพ้นจากงาน
การบริหารงบประมาณเพื่อการศึกษาการบริหารงบประมาณเพื่อการศึกษา 1 ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารสถานศึกษา ทั้งงานวิชาการ ธุรการ กิจการนักเรียน บุคลากร งานชุมชน 2 ช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คือ มีการวางแผนการใช้จ่ายให้สอดคล้องกับรายรับ รวมทั้งการจัดลำดับความสำคัญของงาน โครงการกิจกรรมต่างๆ 3 เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงาน
การบริหารงบประมาณของสำนักงบประมาณ(ระเบียบบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2543) มีขั้นตอนดังนี้ 1.จัดทำนโยบายระดับกระทรวง กรม โดยระบุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดหมายปัจจุบันและอนาคตของหน่วยงาน 2.ระบุเป้าหมายเชิงนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ทั้งระยะสั้นระยะยาว 3.กำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ ดัชนีชี้วัด วิเคราะห์ความเชื่อมโยง ระหว่างทรัพยากรกับผลผลิต ผลผลิตกับผลลัพธ์ และ ผลลัพธ์กับวัตถุประสงค์เชิงนโยบาย
การบริหารงบประมาณของสำนักงบประมาณ(ระเบียบบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2543) 4. เสนอของบประมาณประมาณเป็นวงเงินรวม (Block Grant) เพื่อขอรับความคิดเห็นจากสำนักงบประมาณ (ระยะแรกให้มีงบประมาณเป็นวงเงินรวม 4 ด้าน คือ บุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน) 5. อนุมัติเงินประจำงวด ตามแผนงาน โครงการ และ ประเภทงบประมาณราบจ่ายที่ขอตั้งไว้ - รายงานผลการดำเนินงาน - รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ - รายงานทางการเงิน
การบริหารวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา • หมายถึง กระบวนการที่นำมาใช้กับการดำเนินการตามวงจรพัสดุ เช่นนำกระบวนการบริหารมาใช้เพื่อจัดซื้อ จัดหา เพื่อการใช้บำรุงรักษา • ปัญหาการบริหารวัสดุอุปกรณ์การศึกษา เช่น การจัดทำทะเบียนวัสดุไม่ถูกต้องตามระเบียบและไม่เป็นปัจจุบัน การขาดแคลนเจ้าหน้าที่ การจัดสรรไม่สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน หรือซื้อมาแล้วไม่ได้ใช้หรือใช้น้อยมาก ไม่มีการซ่อมแซมวัสดุที่ชำรุด ขาดอุปกรณ์การศึกษาประเภทคอมพิวเตอร์
การบริหารอาคารสถานที่การบริหารอาคารสถานที่ 1 งานการจัดอาคารสถานที่ 2 งานการใช้อาคารสถานที่ 3 งานการบำรุงอาคารสถานที่ 4 งานควบคุมดูแลอาคารสถานที่ 5 งานประเมินผล การใช้อาคารสถานที่
การบริหารเวลา เวลา เป็นทรัพยากรที่แตกต่างไปจาก คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการ คือ 1 ไม่สามารถซื้อ ขาย เช่า หยิบยืม เก็บรักษา สิ่งที่เราทำได้กับเวลาคือการใช้เวลา 2 ทรัพยากรอื่นๆถ้าเราไม่ใช้ก็อาจคงอยู่ แต่เวลาถ้าไม่ใช้จะหมดไป 3 คุณภาพของทรัพยากรเวลาขึ้นอยู่กับการใช้เวลาคุ้มค่าหรือไม่ 4 เวลาให้ความเท่าเทียมและเสมอภาคแก่ทุกคน 5 การบริหารเวลาเป็นการกระทำภายในเวลาที่เรามีอยู่ การบริหารเวลาคือคือการบริหารตนเอง การบริหารเวลา หมายถึงการใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิผลในการบรรลุเป้าหมายที่สำคัญ
การบริหารเวลาที่ดี • ทำให้ชีวิตไม่ยุ่งเหยิง • ลดความเครียด วิตกกังวล • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • เพิ่มผลผลิตหรือผลงานให้กับตนเองและหน่วยงาน • เพิ่มความพึงพอใจในการทำงาน • มีเวลาที่เป็นของตัวเอง
ขั้นตอนในการบริหารเวลาขั้นตอนในการบริหารเวลา • ตระหนัก • วิเคราะห์ • ขจัด • จัดลำดับ • จัดระบบ
ปัญหาการใช้เวลา • ขาดประสบการณ์ • ไม่จัดระบบการใช้เวลา • ธรรมชาติของงานที่ทำ • ไม่กระจายความรับผิดชอบ
การใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น ขอบข่ายของทรัพยากรท้องถิ่น 1 เงิน 2 แรงงาน 3 ที่ดินและวัสดุสิ่งของ 4 อื่นๆได้รับความช่วยเหลือในรูปแบบความช่วยเหลือต่างๆ แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น แยกได้เป็น บุคคล มูลนิธิ สมาคม ชมรม องค์กรต่างๆ
ทรัพยากรอื่นๆในท้องถิ่นที่จะนำไปใช้ในการศึกษาทรัพยากรอื่นๆในท้องถิ่นที่จะนำไปใช้ในการศึกษา • ธรรมชาติ • ภูมิปัญญาชาวบ้าน • หัตถกรรมพื้นบ้านด้านเครื่องใช้ต่างๆ • หัตถกรรมพื้นบ้านด้านเครื่องมือจับสัตว์น้ำ • หัตถกรรมพื้นบ้านเกี่ยวกับเครื่องมือใช้ในการทำนา • สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน • อาหารพื้นบ้าน • ยาพื้นบ้าน • เพลงพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน • ภาษาพื้นบ้าน นิทานพื้นบ้าน วรรณกรรมพื้นบ้าน • ขนบธรรมเนียมประเพณี • วัด • คุณธรรม จริยธรรม • สถานที่ต่างๆ
การนำทรัพยากรอื่นๆในท้องถิ่นไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการศึกษาการนำทรัพยากรอื่นๆในท้องถิ่นไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการศึกษา • บุคคล เช่น ครู พระภิกษุ นักเรียน ผู้ปกครอง อาสาสมัครในชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน • มูลนิธิ สมาคม ชมรม เช่นมูลนิธิช่วยเหลือนักเรียนที่ขาดแคลน สมาคมครู-ผู้ปกครอง สมาคมศิษย์เก่า มูลนิธิไทยรัฐ • องค์กรต่างๆ เช่น องค์กรภาคเอกชน และองค์กรภาครัฐ
การนำเทคโนโลยีไปใช้ในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาการนำเทคโนโลยีไปใช้ในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญที่ช่วยให้ผู้บริหารปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับโรงเรียน สนับสนุนในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุครุภัณฑ์ และด้านการจัดการศึกษาที่มีความจำเป็น การนิเทศ การประเมินผลเพื่อระบบสารสนเทศที่เป็นกระบวนการในด้านคุณภาพการบริหาร เป็นกระบวนการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการเสาะแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ การจัดการ และการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต