220 likes | 349 Views
จิบน้ำชาพนักงานมหาวิทยาลัย. สื่อสารข้อมูล/รับฟังความเห็น เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ในประเด็นการปรับขึ้นเงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัย. วันที่ 25 กันยายน 2555. ประเด็นที่จะสื่อสาร. ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ พนักงานมหาวิทยาลัย. การปรับขึ้นเงินเดือน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รับฟังความคิดเห็น.
E N D
จิบน้ำชาพนักงานมหาวิทยาลัย สื่อสารข้อมูล/รับฟังความเห็น เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ในประเด็นการปรับขึ้นเงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัย วันที่ 25 กันยายน 2555
ประเด็นที่จะสื่อสาร • ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับ พนักงานมหาวิทยาลัย • การปรับขึ้นเงินเดือน • ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • รับฟังความคิดเห็น
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพนักงานมหาวิทยาลัยของวิศวฯข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพนักงานมหาวิทยาลัยของวิศวฯ • ประเภทของพนักงานมหาวิทยาลัย • พนักงานมหาวิทยาลัย (งบประมาณแผ่นดิน) • พนักงานมหาวิทยาลัย (งบรายได้คณะวิศวฯ) • พนักงานมหาวิทยาลัยทั้ง 2 ประเภท มีทุกอย่างเหมือนกันต่างกันเฉพาะ แหล่งงบประมาณที่ใช้
เงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัย • พนักงานมหาวิทยาลัยงบประมาณแผ่นดิน: คณะจะดำเนินการตามระเบียบของมหาวิทยาลัยในทุกขั้นตอน และใช้งบประมาณจากสำนักงบประมาณในการดำเนินการ • พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้: คณะจะดำเนินการตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ในทุกขั้นตอนแต่ใช้งบประมาณจากรายได้คณะฯ ในการดำเนินการ • พนักงานเงินรายได้: คณะจะดำเนินการตามระเบียบพนักงานเงินรายได้ของคณะฯ และมหาวิทยาลัย ซึ่งแตกต่างจากพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้
เงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินเดือนของพนักงานมหาวิทยาลัย • มีประกาศมหาวิทยาลัยเรื่องอัตราค่าจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 1 ตุลาคม 2542, 6 มี.ค. 2546, 1 เม.ย. 2547, 1 ต.ค. 2548, 1 เม.ย. 2550, 1 ต.ค.2550 และ 1 เม.ย. 2554
พัฒนาการของเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย ของ ม.อ. ระยะแรก: 1.7 เท่า และ 1.5 เท่า ของข้าราชการ สำหรับสายวิชาการ และสายสนับสนุน โดยไม่มีสวัสดิการ:งบประมาณที่ได้รับทั้งหมดใช้เป็นเงินเดือน • ต่อมา.. ปรับ • 1.5 เท่า และ 1.3 เท่า ของข้าราชการ สำหรับสายวิชาการ และสายสนับสนุน โดยมีสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร ที่พัก และอื่นๆ: งบประมาณส่วนหนึ่ง (0.2) ถูกนำมาจัดเป็นระบบสวัสดิการของพนักงาน
ประเด็นการปรับเงินเดือนประเด็นการปรับเงินเดือน • ฐานเงินเดือนตั้งแต่ 1 เมษายน 2554-ปัจจุบัน • 1.5 และ 1.3 เท่า ของเงินเดือนข้าราชาการ ณ. วันที่ 1 ตุลาคม 2550 และปรับเพิ่ม 5% • สายวิชาการ: อาจารย์ ป.เอก 20,660 บาท, ป.โท 15,280 • สายสนับสนุน: ป.โท 13,250 บาท ป. ตรี 10,840 บาท • การปรับเพิ่ม 5% เนื่องจากเงินเดือนข้าราชการปรับเพิ่ม 5% (ตั้งแต่เมษายน 2554) • (5% เป็นการปรับฐานเงินเดือนทั้งระบบ คนเก่า และ คนใหม่)
ประเด็นการปรับเงินเดือนประเด็นการปรับเงินเดือน ตั้งแต่ 1 ต.ค.54 – เม.ย. 55 ก.พ. ปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการใหม่ 3 ครั้ง • 1 ตุลาคม 2554 • 1 มกราคม 2555 • 1 เมษายน 2555
ประเด็นการปรับเงินเดือนประเด็นการปรับเงินเดือน • ก.พ. กำหนดอัตราเงินเดือนข้าราชการใหม่ • 1 ตุลาคม 2554 • ปริญญาโท: 12,600-13,360 • ปริญญาเอก: 17,010-18,040
ประเด็นการปรับเงินเดือนประเด็นการปรับเงินเดือน • 1 มกราคม 2555 • ปริญญาโท: 15,300-16,220 • ปริญญาเอก: 19,000-20,140 • ฐานเงินเดือนขั้นต่ำ • มกราคม 2555 และ เมษายน 2555 เท่ากัน • 1 เมษายน 2555 • ปริญญาโท: 15,300-16,830 • ปริญญาเอก: 19,000-20,900
การประกาศอัตราใหม่ ทำไมใช้ฐาน ต.ค.54 • การปรับขึ้นเงินเดือน ณ. 1 มกราคม 2555 สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณเฉพาะอัตราใหม่ที่ทดแทนการลาออกและเงินค่าครองชีพชั่วคราวสำหรับผู้ที่ได้รับค่าจ้างไม่ถึง 15,000 บาท เท่านั้น • ค่าครองชีพสำหรับผู้ที่ได้รับค่าจ้างไม่ถึง 15,000 1 ม.ค. 55 – 30 ก.ย. 55 • สำนักงบประมาณไม่ได้จัดสรรงบสำหรับการปรับเงินเพิ่มตามคุณวุฒิเป็นเงินชดเชยของผู้ที่จ้างก่อน มกราคม 2555 • ต้องชดเชยหรือไม่? การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการมีการชดเชย
การประกาศอัตราใหม่ ทำไมใช้ฐาน ต.ค.54 • มหาวิทยาลัยต้องใช้งบประมาณของหน่วยงานในการดูแลพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ที่ได้รับการจ้างก่อน มกราคม 2555 จึงเป็น เหตุผลหนึ่งที่ใช้ฐานเงินเดือน ข้าราชาการ ตุลาคม 54 มาเป็นฐานในการปรับเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย • เพราะถ้าใช้ฐาน มกราคม 2555 จะไม่มีงบประมาณสำหรับการชดเชยให้กับผู้ที่จ้างก่อนมกราคม 2555 • ถ้าไม่มีประเด็นต้องชดเชย สามารถปรับฐานเป็นมกราคม 55 ได้ แต่จะได้ปรับเฉพาะคนที่บรรจุใหม่ ซึ่งไม่เป็นธรรมกับคนเก่า เพราะคนใหม่เข้ามาเงินเดือนก็จะสูงกว่าคนเก่าทันที
ปรับอัตราเงินเดือนพนักงานใหม่ตั้งแต่ 1 ต.ค.55 1.5 และ 1.3 เท่าของอัตราเงินเดือนข้าราชการ ณ. วันที่ 1 ตุลาคม 2554 อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ-ขั้นสูง ของพนักงานมหาวิทยาลัย ใหม่ ที่บรรจุตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 • สายวิชาการ: อาจารย์ ป.เอก 25,520 (17,010) บาท, • ป.โท 18,900 (12,600) • สายสนับสนุน: ป.โท 16,380 (12,600)บาท ป. ตรี 11,890 (9,140) บาท
เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว • ปริญญาตรีขึ้นไป ที่เงินเดือนไม่ถึง 15,000 บาท จะได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวจนได้รับเงินเดือนๆ ละ 15,000 บาท • วุฒิตำกว่าปริญญาตรี ที่เงินเดือนไม่ถึง 12,285 บาท จะได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวเดือนละ 1500 บาท แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 12,285 บาท
ชดเชยคนเก่า: โดยใช้สูตรของ ก.พ. • อัตราการตอบแทนใหม่= อัตราแรกบรรจุใหม่+เงินชดเชย • เงินชดเชย = อัตราการชดเชย* x (ค่าตอบแทนปัจจุบัน-อัตราแรก • บรรจุเดิม) • อัตราการชดเชย ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ทำไมอัตราการชดเชยไม่เหมือนของ ก.พ. • อัตราการชดเชย ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร • มหาวิทยาลัยไม่ได้รับงบประมาณสำหรับการชดเชยให้กับผู้ที่จ้างก่อน มกราคม 55 อัตราการชดเชยจากสำนักงบประมาณเป็น 0 • มหาวิทยาลัยคำนวณอัตราการชดเชย จากงบประมาณที่มหาวิทยาลัยมีอยู่
งบประมาณในการปรับเงินเดือน ครั้งนี้ • มหาวิทยาลัยมีกรอบวงเงินที่สามารถนำมาชดเชยให้กับผู้ที่ได้รับการจ้างก่อนมกราคม 55 ในวงเงิน 64 ล้านบาท • 24 ล้าน เงินค่าครองชีพชั่วคราว (ปี 56) • 40 ล้าน เงินเดือนอัตราว่างที่ยังไม่ได้บรรจุ ที่สะสมอยู่ถึงปัจจุบัน • นำมาคำนวณ ชดเชยให้กับพนักงานมหาวิทยาลัย ได้อัตราการชดเชย 0.56
งบประมาณในการปรับเงินเดือน ครั้งนี้ • มหาวิทยาลัยมีกรอบวงเงินที่สามารถนำมาชดเชยให้กับผู้ที่ได้รับการจ้างก่อนมกราคม 55 ในวงเงิน 64 ล้านบาท • 24 ล้าน เงินค่าครองชีพชั่วคราว (ปี 56) • 40 ล้าน เงินเดือนอัตราว่างที่ยังไม่ได้บรรจุ ที่สะสมอยู่ถึงปัจจุบัน • นำมาคำนวณ ชดเชยให้กับพนักงานมหาวิทยาลัย ได้อัตราการชดเชย 0.56
ชดเชยคนเก่า: โดยใช้สูตรของ ก.พ. • อัตราค่าจ้างใหม่= อัตราค่าจ้างแรกบรรจุใหม่+เงินชดเชย • เงินชดเชย = 0.56* x (ค่าจ้างปัจจุบัน-ค่าจ้างแรก บรรจุเดิม) • ค่าจ้างปัจจุบันให้ใช้ค่าจ้างหลังจากปรับเพิ่มค่าจ้าง 1 ต.ค. 55 แล้ว • ค่าจ้างแรกบรรจุ หมายถึงอัตราแรกบรรจุตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เรื่องอัตราค่าจ้าง ณ. วันที่ 1 ต.ค. 42, 6 มี.ค. 46, 1 เม.ย. 47, 1 ต.ค. 48, 1 เม.ย. 50, 1 ต.ค. 50, 1 เม.ย. 54
ทุกคนได้รับการชดเชยหรือไม่ • ระบบการชดเชย ที่ ก.พ. ใช้ ไม่ได้รับการชดเชยทุกคน • กรณีของข้าราชการ 3500 คน ได้รับการชดเชย 558 คน • ประเภทวิชาการ มีข้าราชการได้รับการชดเชย จำนวน 452 คน • ประเภทวิชาชีพเฉพาะและเชี่ยวชาญเฉพาะ ได้รับการชดเชย 106 ราย • กรณีของพนักงานมหาวิทยาลัย 2476 คน ได้รับการชดเชย 1,979 คน • ประเภทวิชาการ ได้รับการชดเชย 1004 คน (จาก 1071 คน) • สายสนับสนุน ได้รับการชดเชย 975 คน (จาก 1405 คน)
สรุปจากประสบการณ์ • ระบบพนักงานมหาวิทยาลัยเป็นระบบที่มีปัญหาระดับประเทศที่ต้องแก้ปัญหาต่อไป มหาวิทยาลัยทุกมหาวิทยาลัยต้องร่วมกัน เจราจากับ กระทรวงศึกษาธิการ ทำให้การจัดสรรงบประมาณต่างๆ ของพนักงานมหาวิทยาลัยเป็นไปเหมือนของข้าราชการ
ตอบคำถามในประเด็นที่อยู่ในอำนาจของคณบดีตอบคำถามในประเด็นที่อยู่ในอำนาจของคณบดี • รับฟังความคิดเห็นเพื่อสื่อสารข้อเสนอแนะต่างๆ ไปยังมหาวิทยาลัย