1 / 102

การสำรวจการใช้พลังงานในอาคาร ของรัฐ 1. หลักการและเหตุผล

การสำรวจการใช้พลังงานในอาคาร ของรัฐ 1. หลักการและเหตุผล

Download Presentation

การสำรวจการใช้พลังงานในอาคาร ของรัฐ 1. หลักการและเหตุผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสำรวจการใช้พลังงานในอาคารของรัฐการสำรวจการใช้พลังงานในอาคารของรัฐ 1. หลักการและเหตุผล 1.1 ที่ผ่านมากรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน (พพ.) ได้เข้าตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงานในอาคารของรัฐ พบว่ามีการใช้พลังงานค่อนข้างสูง เนื่องจากระเบียบการจัดซื้อจึงทำให้จัดหาอุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ เช่น เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าแสงสว่างที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างต่ำและเนื่องจากมีการใช้งานมานาน และขาดการบำรุงรักษาหากมีการปรับปรุงจะสามารถลดการใช้พลังงานลงได้เฉลี่ยประมาณร้อยละ 20 ของอาคารที่ทำการปรับปรุง

  2. ปรับอากาศ 50 -55 แสงสว่าง 20-25 % สัดส่วนการใช้พลังงานในอาคารของรัฐ อื่น ๆ 15-30 %

  3. มติ ครม.16 มีค.55 และ20 มีค. 55 มาตรการลดใช้พลังงานภาครัฐและให้สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดเป็นตัวชี้วัด ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป คณะรัฐมนตรีรับทราบมาตรการลดใช้พลังงานภาครัฐตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ และขอให้เน้นวัตถุประสงค์การใช้พลังงานให้มีประสิทธิภาพและมากกว่าการประหยัดค่าใช้จ่าย และให้สำนักงบประมาณร่วมกับสำนักงาน ก.พ.ร. ติดตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับเรื่องพลังงานต่อไป

  4. 1. กำหนดเป้าหมาย : มาตรการลดใช้พลังงานลงให้ได้ อย่างน้อย 10% 2.1 ให้ตัวชี้วัด (Key Performance Index: KPI) "ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ตามมาตรการประหยัดพลังงาน" เป็นหนึ่งในกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่อไป โดยเริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  5. 2.2 ลดการใช้พลังงานลงอย่างน้อยร้อยละ 10 (1) ให้ทุกหน่วยงานกำหนดเป้าหมายลดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลงร้อยละ 10 โดยเทียบกับปริมาณการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 (2) ถ้าหน่วยงานใดมีผลการใช้ไฟฟ้าและหรือน้ำมันเชื้อเพลิงในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 เพิ่มขึ้น จากปริมาณการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยไม่มีเหตุผลสมควร หน่วยงานนั้นต้องลดการใช้พลังงานลง 15จากปริมาณการใช้ไฟฟ้าและหรือน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ พ.ศ.2551

  6. (3) แนวทางดำเนินการ • ดำเนินการตามแนวทางประหยัดพลังงานในหน่วยงานภาครัฐ (4) มาตรการลดใช้ไฟฟ้า - จัดซื้ออุปกรณ์/เครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดต้องเป็นอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน - กำหนดเวลาเปิดปิดเครื่องปรับอากาศ เช่น 08.30-16.30 น. และปรับอุณหภูมิให้อยู่ที่ 25-26 องศาเซลเซียส รวมถึงตั้งงบประมาณล้างเครื่องปรับอากาศเป็นประจำทุก 6 เดือน โดยห้ามปรับเปลี่ยนงบประมาณไปใช้ในเรื่องอื่น

  7. 3. ดำเนินมาตรการระยะยาว ดังต่อไปนี้ 3.2 ให้ สำนักงบประมาณ จัดทำข้อกำหนดและเงื่อนไขเพื่อหน่วยงานราชการสามารถจัดซื้ออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือยานพาหนะใหม่มาใช้ทดแทนของเดิมที่มีอายุการใช้งานมานาน เสื่อมสภาพ และสิ้นเปลืองพลังงาน รวมถึงการจัดการอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือยานพาหนะเดิมเพื่อมิให้มีการนำไปใช้ในที่อื่น โดยการจัดการนั้นต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย

  8. อยู่กับปัญหา มานาน นานจนกลายเป็นเพื่อนสนิท คนไทยเรา และกลายเป็นวิธีชีวิต

  9. การประหยัดพลังงานไม่ได้ผล เพราะอะไร? • คิดว่าทำให้คุณภาพงาน หรือคุณภาพชีวิตลดลง • เกิดจากการบังคับ โดยไม่เข้าใจข้อเท็จจริง • มาตรการประหยัดเป็นเพียง เปลี่ยนประโยคบอกเล่าเป็นปฏิเสธ หรือในทางกลับกัน • ไม่มีความต่อเนื่อง ด้วยปัญหาภาระงาน รวมถึงขาดการกระจายการมีส่วนร่วม ภายในองค์กร

  10. เครื่องปรับอากาศ • ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ ๒๕ – ๒๖ องศาเซลเซียส • เปิดพัดลมระบายอากาศเท่าที่จำเป็น • ปิดเครื่องปรับอากาศขนาด ๑ ตัน เร็วขึ้นวันละ ๑ ชั่วโมง ๑ ล้านเครื่อง ประหยัดปีละ ๗๕๖ ล้านบาท การบำรุงรักษา • ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศและคอยล์ทำความเย็น อย่างน้อย เดือนละ ๑ ครั้ง • ทำความสะอาดแผงระบายความร้อนทุก ๖ เดือน

  11. ใช้พลังงานมากที่สุดในสำนักงานใช้พลังงานมากที่สุดในสำนักงาน หันมาใช้ เบอร์ 5 กัน เถอะ ครับ

More Related