670 likes | 1.22k Views
“ปัญหาชายแดนภาคใต้กับยุทธศาสตร์ใน การแก้ไขปัญหาและบทบาทของหน่วยงาน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ” หลักสูตร หลักประจำ วทบ. ชุดที่ 55 วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม 2553 เวลา 08.00 – 12.00 น. ขอบเขตการเสวนา. วิวัฒนาการและที่มาของปัญหา โดยเฉพาะมิติด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา
E N D
“ปัญหาชายแดนภาคใต้กับยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาและบทบาทของหน่วยงาน“ปัญหาชายแดนภาคใต้กับยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาและบทบาทของหน่วยงาน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้” หลักสูตร หลักประจำ วทบ. ชุดที่ 55 วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม 2553 เวลา 08.00 – 12.00 น.
ขอบเขตการเสวนา วิวัฒนาการและที่มาของปัญหา โดยเฉพาะมิติด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้มี ผู้เสนอไว้ นโยบายยุทธศาสตร์การดำเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ที่มีผลบังคับในปัจจุบัน
จชต. กับ 3 แนวรบ ต่างประเทศ มวลชน ยุทธการ ยุทธวิธี
ความเป็นจริงของสถานการณ์ความเป็นจริงของสถานการณ์ 31 พฤษภาคม 2548 – 30 พฤศจิกายน 2552 • ข้อมูล สำนักตรวจราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี • จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ7,240 คน • เสียชีวิต2,468 คน • บาดเจ็บ3,776 คน • ใช้เงินเยียวยาทั้งสิ้น1,302,014,396.15 บาท
เหยื่อของความรุนแรง มกราคม 2547 – มิถุนายน 2550 • เด็กกำพร้า 1,899 คน • ชาย 924 คน • หญิง 975 คน • 2. สตรีผู้สูญเสีย 1,005 คน
มูลเหตุ ปัญหาใน จชต. (ซ้ำซ้อน) กลัว ไม่ ไว้เนื้อเชื่อใจ หวาด ระแวงกัน สถานการณ์ต่างประเทศ ความไม่สงบ (ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศาสนา) เงื่อนไขการปฏิบัติ (จนท.รัฐบางคน) อำนาจมืด ผู้มีอิทธิพล ยาเสพติด ความไม่เป็นธรรม เลือกปฏิบัติ ไม่เข้าใจในวิถีชีวิต ชาติพันธุ์ (มลายูปัตตานี ภาษามลายู) แยกดินแดน
มูลเหตุและสถานการณ์ความไม่สงบใน จชต. ตามคำสั่ง ๒๐๖/๒๕๕๐ ลักษณะปัญหา ซับซ้อน เชื่อมโยงกันหลายมิติ เปราะบาง พื้นฐานของปัญหาที่แท้จริง 1. เกิดจากความต้องการมีส่วนร่วม การดำรงอยู่ในสังคมไทยบนพื้นฐานของความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะ 2. มีบุคคลกลุ่มหนึ่งซึ่งเป็นคนจำนวนน้อยเท่านั้นได้ใช้เงื่อนไขในอัตลักษณ์เฉพาะดังกล่าวมาขยายผลในการก่อความไม่สงบ (ประวัติศาสตร์,ชาติพันธุ์,ศาสนา) 3. มีบรรยากาศความกลัว ความไม่ไว้วางใจระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ 4. ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในสภาพของความหวาดกลัวเป็นอุปสรรคในการเข้ามามีส่วนร่วม แก้ไขปัญหา และพัฒนาพื้นที่
การประเมินสถานการณ์ของ ศอ.บต. ต้องใช้ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาในระยะยาว เพื่อสร้างเงื่อนไข ให้องค์กรมุสลิมระหว่าง ประเทศผลักดันให้ UN แทรกแซงและเห็นชอบ ให้เกิดรัฐใหม่ ตามภูมิศาสตร์ ที่ใช้ความจำเพาะ ด้านเชื้อชาติ ศาสนา ยุทธศาสตร์ผู้ก่อเหตุร้าย ก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองระหว่างเชื้อชาติ พัฒนาสร้างภาพให้เป็นสงครามศาสนา
แนวทางหลักของผู้ก่อเหตุร้ายแนวทางหลักของผู้ก่อเหตุร้าย สร้างข่าวลือและปล่อยข่าวให้มวลชนสับสน สร้างสถานการณ์ให้เกิดความแตกแยกทางศาสนา สร้างภาพให้คนในขบวนการเป็นนักรบแห่งศาสนา ไม่มั่นใจ ในอำนาจรัฐ
แกนหลักของความคิดในการต่อสู้แกนหลักของความคิดในการต่อสู้ • อิสลาม – ปัตตานี – มลายู= ISLAMIZATION • มลายู – ปัตตานี – อิสลาม=NATIONALISM
การเอาชนะ ต่อสถานการณ์ ปัจจุบัน 1. มิติแรก แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ ดำเนินงาน 2 มิติ 2. มิติที่สอง การวางรากฐานการแก้ไขปัญหาระยะยาวเพื่อป้องกันไม่ให้สถานการณ์พัฒนาไปสู่จุดที่เป็นสงครามกลางเมืองระหว่างเชื้อชาติ
การกำหนดนโยบาย จชต. • - ก่อนปี 2521 - เฉพาะเรื่อง • ปี 2521 – 2546 - นโยบายความมั่นคงเกี่ยวกับจังหวัด ชายแดนภาคใต้ • 31 พ.ค. 2545 - ยุบ ศอ.บต.และพ.ต.ท.43 ตร. CEO • 4 ม.ค. 47 - ปล้นปืน • 30 ต.ค. 49 - ฟื้นคืน ศอ.บต. และ พ.ต.ท. • - 19 ก.พ. 51 - พ.ร.บ.ความมั่นคงในราชอาณาจักร(กอ.รมน.), พ.ร.บ.ศอ.บต.
สถานะของคำสั่ง • สภาความมั่นคงเห็นชอบ เมื่อ 17 ตุลาคม 2549 • นายกรัฐมนตรีลงนามคำสั่งเมื่อ 30 ตุลาคม 2549 • คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อ 31 ตุลาคม 2549
คำสั่ง สร. ที่ 206/2549 เรื่อง นโยบายเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ จังหวัดนราธิวาส – จังหวัดปัตตานี – จังหวัดยะลา – จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา (เฉพาะพื้นที่ 4 อำเภอ อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวี และอำเภอจะนะ)
วัตถุประสงค์ ปราศจากเงื่อนไขที่เอื้อต่อ การใช้ความรุนแรง ปลอดภัย มีบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อการมีส่วนของทุกภาคส่วน มีบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อการมีส่วนของทุกภาคส่วน สันติภาพยั่งยืน สงบ สันติ
นโยบาย (4 ข้อ) ยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำ แนวทางสันติวิธี จัดการความขัดแย้ง การสร้างความรักความสามัคคี ความสมานฉันท์ และความสงบสุขของประชาชน ยึดมั่น ความเป็นธรรม และกระบวนการยุติธรรมตามหลัก นิติธรรม ยึดถือ กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเป็นพลังในเข้าถึงประชาชน ใช้ ความเข้าใจต่อสถานการณ์ทั้งในและนอกประเทศ สร้าง
แนวทางปฏิบัติ (12 ข้อ) เร่งรัดการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษา (ข้อ 3.8) ดำเนินการการเมืองเชิงรุก ความเป็นธรรม งานการข่าว ความปลอดภัย (ข้อ3.1)
สร้าง - ความเข้าใจ ปชส. ป้องกันต่อต้านข่าวลือ (ข้อ 3.4) - ความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมให้เป็นที่พึ่งของประชาชนในพื้นที่ (ข้อ 3.6)
เสริมสร้าง - ความเข้าใจ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่างภาครัฐกับทุกกลุ่ม(ข้อ 3.2) - ความเข้าใจอันดี และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรสากลต่างๆ(ข้อ 3.11)
พัฒนา - คนและสังคมบนพื้นฐานความหลากหลายจองวิถีชีวิต และวัฒนธรรม เช่น ส่งเสริมศาสนสัมพันธ์ การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักศาสนา การเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว และชุมชน(ข้อ 3.7) - เศรษฐกิจในพื้นที่อย่างยั่งยืนยกระดับมาตรฐานการครองชีพ แก้ไขปัญหาความยากจน เน้นน้ำหนักในโครงการด้านเศรษฐกิจชุมชน(ข้อ 3.9)
ส่งเสริม - ช่องทางสร้างความเข้าใจกับกลุ่มที่มีความเห็นแตกต่างและเลือกใช้ความรุนแรง(ข้อ 3.5) ใช้ - งานมวลชนสัมพันธ์ ผ่านสื่อภาครัฐและเอกชน และอื่นๆ เพื่อให้ความรู้กับสังคมนอกพื้นที่(ข้อ 3.10)
ขจัด - เงื่อนไขและสาเหตุที่ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความรู้สึกแตกแยก ไม่เท่าเทียม สัมผัสได้อย่างเป็นรูปธรรม(ข้อ 3.3)
จัดการ ฝึกอบรมด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐทุกฝ่ายยึดหลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงานการคัดสรรข้าราชการ และการลงโทษข้าราชการที่สร้างเงื่อนไขอย่างเด็ดขาด (ข้อ 3.12)
จุดอ่อนในเรื่องนโยบายจุดอ่อนในเรื่องนโยบาย 1. ไม่ต่อเนื่อง 2. ไม่ตรงกับความต้องการที่แท้จริงของประชาชน 3. ทิศทางยังสับสนในเรื่องของแนวทางการแก้ไขปัญหา 4. ไม่จัดความสัมพันธ์ของแต่ละเรื่อง (หลัก-รอง-สนับสนุน) 5. ไม่ได้จัดลำดับความสำคัญ (Piority)
จุดอ่อนในเรื่องการนำไปปฏิบัติจุดอ่อนในเรื่องการนำไปปฏิบัติ 1. ขาดเอกภาพ บูรณาการระหว่างกัน 2. ขาดแผนกลยุทธ์ที่ชัดเจน 3. ยุทธศาสตร์กับยุทธวิธียังไม่สอดคล้องกัน 4. เจ้าหน้าที่บางส่วน บางระดับยังไม่เข้าในเจตนารมย์ และไม่ให้ความสำคัญต่อเป้าหมายนโยบาย
ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลใหม่ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลใหม่ ในการกำหนดนโยบาย จชต. ? ? ? ? ? ?
เอกสารวิจัยส่วนบุคคล การจัดทำนโยบายและการแปรไปสู่การปฏิบัติวทบ.53ปีการศึกษา 2551
ฐานะผู้วิจัย - สนใจโดยตรง - งานที่รับผิดชอบโดยตรงและเชื่อมทุกระดับ • ประเด็นปัญหา • - นโยบายเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา • การปฏิบัติตามนโยบายเป็น • ส่วนหนึ่งของปัญหา • นโยบายไม่เป็นปัญหา • แต่การปฏิบัติตามนโยบาย • เป็นปัญหา • การขาดเอกภาพ ไม่มีการ • บูรณาการยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี • ไม่สอดคล้องกันบางเรื่อง • ขัดแย้งกัน ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา • ฐานะของปัญหา • รุนแรง วิกฤติ ทุกฝ่ายสนใจ • วาระแห่งชาติ • นโยบาย/ การปฏิบัติ • ตามนโยบายมีปัญหา
ผลผลิตระดับนโยบายการแก้ไขปัญหา จชต. หลังการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เมื่อ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ๑. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๐๖/๒๕๔๙ เรื่อง นโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๒. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๐๗/๒๕๔๙ เรื่อง การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ ๒ คำถามสำคัญดังกล่าว ๒ คำถามสำคัญ คำถามนำการวิจัย ๑. การจัดทำนโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นอย่างไร ๒. การแปรนโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปสู่การปฏิบัติ เป็นอย่างไร
ขอบเขตของการวิจัย ๑. วิจัยเฉพาะนโยบายตามคำสั่ง นร. ๒๐๖/๒๕๔๙ ๒. วิจัยเฉพาะการจัดทำนโยบาย (Policy Formulation) กับการแปรนโยบาย (Policy Implementation) โดยไม่วิจัยไปในเรื่องการประเมินผลนโยบาย (Policy Evaluation)
วิธีดำเนินการวิจัย ๑. Qualitative Research ๒. แหล่งข้อมูล ๒.๑ Primary Sources เป็นหลัก เอกสาร + การสัมภาษณ์ (๒๕ คน) ๒.๒ Secondary Sources ๓. เครื่องมือรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง ๔. วิเคราะห์ข้อมูล content Analysis
การคัดเลือก ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึก(๒๕ คน) - เกี่ยวข้องโดยตรงทั้งในการจัดทำนโยบายและการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ- ศาสนาพุทธ ๑๔ คน ศาสนาอิสลาม ๑๑ คน ๑. ผู้บริหารภาครัฐระดับสูงส่วนกลาง คือ รอง นรม. ผบ.ทบ. ๒. ผู้บริหารภาครัฐระดับสูงในพื้นที่ ผอ.ศอ.บต. รอง ผอ.ศอ.บต.(ยุติธรรม) และรอง ผอ.ศอ.บต. (การศึกษา) ผบ.พล.ร. ๑๕ ผบ.พตท. หัวหน้ากฎหมายและสอบสวน ศปก.ตร. ส่วนหน้า
๓. ผู้นำศาสนา/นักวิชาการ คือประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รองคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มอ.ปัตตานี ผอ.โรงเรียนมาโงยซิแน อาจาร์ยมหาวิทยาลัยทักษัณ ดาโต๊ะยุติธรรม จ.ปัตตานี ๔. สื่อมวลชนในพื้นที่ ของนักข่าว Bangkok Post ประจำจ.ยะลา อดีตบรรณาธิการศูนย์ข่าวอิศรา ๕. ผู้นำสตรี และ เยาวชน จาก อ.ยี่งอจ.นราธิวาส ๖. สนช. เช่น คุณอังคณา นีละไพจิตร
- ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล - ตัวแบบด้านการจัดการ การแปรนโยบายสู่การปฏิบัติ - ตัวแบบกระบวนการ - ตัวแบบการเปลี่ยนแปลง จากเดิมบางส่วน การจัดทำนโยบาย เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระ กรอบแนวคิดการวิจัย คำสั่ง นร ๒๐๖/๒๕๔๙ เรื่อง นโยบายเสริมสร้าง สันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ “การถอดรหัส และการดำเนินการ ไปสู่การปฏิบัติ”
องค์กร/ หน่วยงาน ผลผลิต สมช. กอ.รมน. กอ.รมน.ภาค ๔ สน/ - พตท. - ศอ.บต. นโยบายเสริมสร้างสันติสุข ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความมั่นคง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) กรอบแนวทางปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ กรอบแนวคิดและทิศทางในการแก้ปัญหาการก่อความ ไม่สงบใน ๓ จชต. แผนปฏิบัติการพัฒนา และแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ หน่วยปฏิบัติในพื้นที่ ยุทธศาสตร์รองรับเฉพาะเรื่อง หน่วยงานอื่นๆ กต. ศธ. สศช. สมช. ศปก.ตร.สน. ฯลฯ - คณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กำกับ เร่งรัด อำนวยการดำเนินการพัฒนา) - คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ องค์กร และผลผลิตของการแปรนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ครอบคลุมทุกขั้นตอน • ประมวลวิเคราะห์ • - ประเมินสถานการณ์ • จัดทำข้อเสนอแนะเสนอ สภา มช., นรม., ครม. กระบวนการ ผลการวิจัย กระบวนการจัดทำ และเนื้อหาสาระนโยบาย เนื้อหาสาระ ข้อมูล ๔ แหล่ง ประชมคมข่าวกรอง หน่วยปฏิบัติ องค์กรเครือข่าย องค์กรวิชาการ (กอส. การมีส่วนร่วมทุกฝ่าย โดยเฉพาะสตรี เยาวชน) เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ถูกต้อง ถูกทาง ได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย สันติวิธี
กระบวนการจัดทำนโยบาย (ยึดแนวคิดตัวแบบกระบวนการ) ๑. การก่อตัวของปัญหา (Problem Formulation) ๒. การหยิบยกปัญหาขึ้นมาพิจารณา โดยผู้มีอำนาจ (Policy Agenda) ๓. การกำหนดนโยบายและการพิจารณารับรอง หรืออนุมัติให้ใช้ (Policy Formulation and Adaptation)
ฐานข้อมูลการจัดทำนโยบายฐานข้อมูลการจัดทำนโยบาย ข้อมูลข่าวกรอง ผลการปฏิบัติ องค์ความรู้ทางวิชาการ ความจริงจากประชาชน ประชาคมข่าวกรอง องค์กรด้านวิชาการ หน่วยปฏิบัติ องค์กรเครือข่าย
ครม. ประมวล/ วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ นรม./ ประธาน สภา มช. นโยบาย/ ยุทธศาสตร์ กระบวนการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคง เวทีการมีส่วนร่วม สภา มช. คณะกรรมการ ประสานงานของ สมช. ข้อเสนอแนะ นโยบาย พิจารณา ในคณะกรรมการ นโยบายของ สมช. แปรนโยบายไปสู่ การปฏิบัติ
กระบวนการ และเนื้อหาสาระ การแปรนโยบาย กระบวนการ หน่วยงานรับผิดชอบชัดเจน กอ.รมน. กอ.รมน.ภาค ๔ พตท. ศอ.บต. (คำสั่ง ๒๐๗/๒๕๔๙) เนื้อหาสาระ สอดคล้องไม่ขัดแย้งกัน ชัดเจนตรงกัน ร่วมกันคิด แยกกันทำ
สภา มช. กอ.รมน. กระทรวง/ ทบวง/ กรม กอ.รมน.ภาค ๔ กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหาร (พตท.) ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) สภาที่ปรึกษาเสริมสร้างสันติสุข จชต. กองกำลังทหารที่ได้รับการจัดตั้ง กองกำลังตำรวจที่ได้รับการจัดตั้ง กขว. หน่วยอื่นๆ ที่ได้รับการจัดตั้ง จ.ปัตตานี/ กอ.รมน.จังหวัด จ.ยะลา/ กอ.รมน.จังหวัด สำนักงานบริหารงานยุติธรรม จชต. จ.นราธิวาส/ กอ.รมน.จังหวัด สายการบริหารสั่งการ จ.สงขลา/ กอ.รมน.จังหวัด สายการประสานงาน จ.สตูล/ กอ.รมน.จังหวัด แผนภาพที่ ๑๑ โครงสร้างการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้
มิติตามความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของ กระบวนการจัดทำ และกระบวนการ แปรนโยบาย ๓.๑ปัญหา จชต.: เข้าใจตรงกัน - ปัญหาพื้นฐาน คือ การแบ่งแยกดินแดน แต่ยังขาดความรู้ ความจริง และขาดความต่อเนื่อง ในการแก้ไขปัญหา • ๓.๒ ลักษณะวิธีการจัดทำนโยบาย • สมช. และ ศอ.บต. เหมือนกัน • กอ.รมน. กอ.รมน. ภาค ๔ และ พตท. เหมือนกัน ๓.๓ เนื้อหาสาระ ยังมีปัญหาการถอดรหัส หัวใจของนโยบาย จนทำให้เกิดปัญหาเอกภาพทางความคิด และเอกภาพในการปฏิบัติ
ประกอบด้วย ๔ ด้าน ๑. ด้านกระบวนการและเนื้อหาสาระในการจัดทำนโยบาย ข้อเสนอแนะ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับ จชต. ในระยะ ๕ ปี กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การสร้างองค์ความรู้ในทางทฤษฎี - ปฏิบัติ หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการใช้แนวทางสันติวิธี