260 likes | 403 Views
เกมคอมพิวเตอร์ ( เกม ) เพื่อการเรียนรู้ .. จริงหรือ ? นำเสนอโดย นายวศิน ภิรมย์ ปริญญาโท วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล์ : webmaster@GamedevX.com โทร : 081-400-5759. เกมคอมพิวเตอร์. มีความเป็นมาประมาณ 60 ปี นับตั้งแต่ปี ค . ศ . 1948 – 2007 ปี ค . ศ . 1948 – 1972
E N D
เกมคอมพิวเตอร์(เกม) เพื่อการเรียนรู้.. จริงหรือ?นำเสนอโดย นายวศิน ภิรมย์ปริญญาโท วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีเมล์ : webmaster@GamedevX.comโทร : 081-400-5759
เกมคอมพิวเตอร์ • มีความเป็นมาประมาณ 60ปี นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1948 – 2007 • ปี ค.ศ.1948 – 1972 • ช่วงของการวิจัยและพัฒนาวีดีโอเกมและเกมคอมพิวเตอร์ • ปี 1972 มนุษย์ได้รู้จักกับเกม PONG, ผลิตโดยบริษัท ATARI • ปี ค.ศ.1972 – 1995 • ช่วงที่มีบริษัทเกมต่างๆเกิดขึ้นมากมาย • ปี 1983 มนุษย์ได้รู้จักกับเกม MARIO, ผลิตโดยบริษัท NINTENDO • ปี 1993 มนุษย์ได้รู้จักกับเกม DOOM, ผลิตโดยบริษัท ID SOFTWARE • ปี 1995 บริษัทไมโครซอฟต์เปิดตัวระบบปฏิบัติการ WINDOWS 95
เกมคอมพิวเตอร์ • ปี ค.ศ.1995 – 2007 • ช่วงที่เกมคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ เช่น เกมออนไลน์, เกมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC), เกมบนโทรศัพท์มือถือ, เกมคอนโซล ฯลฯ • อุตสาหกรรมเกมคอมพิวเตอร์ สามารถทำรายได้เป็นอันดับ 1 ของอุตสาหกรรมบันเทิง ซึ่งใหญ่กว่าอุตสาหกรรมภาพยนตร์และเพลงรวมกัน
ประเภทของเกมคอมพิวเตอร์ประเภทของเกมคอมพิวเตอร์ • Arcade • Action / Adventure • Side Scrolling Game • Role Playing Game (RPG) • First Person Shooting (FPS) • Massive Multiplayer Online Game (MMOG) • Fighting • Racing • Puzzle • Educational Game
ผู้ผลิตเกมคอมพิวเตอร์ผู้ผลิตเกมคอมพิวเตอร์ • วิศวกร • โปรแกรมเมอร์ • ศิลปิน • นักธุรกิจ • นักพัฒนาเกมอิสระ
ผู้เล่นเกมคอมพิวเตอร์ผู้เล่นเกมคอมพิวเตอร์ • เด็กเล็ก • เด็กช่วงปฐมวัย • เด็กวัยรุ่น • ผู้ใหญ่ในวัยทำงาน • ผู้สูงอายุ
งานวิจัยของ เจน ฮีลลี่ • เจน ฮิลลี่ พบว่า • การที่วีดีโอเกมดึงดูดความสนใจของผู้เล่นได้อย่างมาก ทำให้เกิดผลกระทบ(ไม่ว่าในทางดีหรือไม่ดี) ในระดับลึกกว่าการดูทีวี นอกจากนี้วีดีโอเกมยัง “ลดช่องว่างทางจิตวิทยา” ระหว่างเด็กกับสื่อ โดยเฉพาะเกมที่มีความซับซ้อนและสมจริงยิ่งขึ้น ฮิลลี่บอกว่าสิ่งที่เราต้องพิจารณาคือ พฤติกรรมและทัศนะต่อโลกที่เกมสื่อคืออะไร (เช่น “นี่คือสถานที่แห่งความรุนแรงที่ฉันมิสามารถไว้ใจใครได้” เป็นต้น)
งานวิจัยของ เจน ฮีลลี่ • การทำงานที่มากเกินไปของปฏิกิริยาการตอบสนองของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตนั้นส่วนใหญ่เกิดจากการเล่นวีดีโอเกม ซึ่งแม้แต่เกมคอมพิวเตอร์ทางการศึกษาก็เช่นกัน และหากเล่นเกมเหล่านั้นซ้ำๆ ก็จะกลายเป็นนิสัยทางกายภาพที่ฝังแน่น ซึ่งจากการวัดค่าความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ และแม้แต่คลื่นสมองขณะกำลังเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ได้สะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นกับร่างกาย ซึ่งปรากฏให้เห็นในสถานการณ์ต่างๆของชีวิต หรือหลั่งไหลออกมาให้เห็นผ่านการเคลื่อนไหว โดยปราศจากการควบคุมอย่างมีจิตสำนึก
งานวิจัยของโรเบิร์ต ดับบลิว คูเบย์ • ประสาทแห่งการรับรู้ของเด็กเล็กที่อายุน้อยกว่าเจ็ดขวบเปิดรับสิ่งต่างๆที่เข้ามาอย่างเต็มที่ การเล่นวีดีโอเกมจึงส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างแน่นอน • มีโรคที่นักประสาทวิทยาเรียกว่าโรควีจีอาร์เอส หรือโรคลมชักจากวีดีโอเกม แม้ว่าจะเป็นกันน้อยแต่เกมนินเทนโดก็ถูกติดคำเตือนถึงโรคลมชักที่เกิดจากการกระตุ้นการเห็นภาพของเกม ซึ่งนอกจากอาการชักแล้วยังมีอาการอื่นร่วมด้วย ได้แก่ กระตุก เกร็ง สั่น หรือแม้แต่สูญเสียความรู้ตัวประมาณสองหรือสามวินาที หรือบางกรณีอาจมีความตื่นตัวน้อยลง และรวมถึงอาการจับจดโดยการเริ่มทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งนานประมาณสองถึงสามวินาทีแล้วก็หยุด เพื่อ “ย้อนกลับ”ไปเริ่มต้นใหม่อีก
งานวิจัยของโรเบิร์ต ดับบลิว คูเบย์ • มีพ่อแม่จำนวนมากรายงานอาการอื่นๆจากการเล่นวีดีโอเกมอีก เช่น คลื่นไส้ เหนื่อยง่าย หรือเหนื่อยหน่าย ปวดหัวในระหว่างและหลังจากเล่นวีดีโอเกม ที่มา : หนังสือคุณคือครูคนแรกของลูก ราหิมา บาลด์วิน แดนซี เขียน สุวรรณา โชคประจักษ์ชัด อุชุคตานนท์ แปล การให้ลูกรู้จักโลกของวีดีโอเกม ช้าลงเท่าไหร่ก็ยิ่งดีกับเขา
เกมคอมพิวเตอร์(เกม) เพื่อการเรียนรู้.. จริงหรือ? • จริง... เพราะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ • ไม่จริง... เพราะเป็นอุปสรรคขัดขวางการเรียนรู้
การใช้เกม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ • ตัวอย่าง การเสริมแรง(Reinforcement) • เช่น ผู้ปกครองต้องสร้างเงื่อนไขกับเด็ก โดยให้เด็กทำการบ้านให้เสร็จก่อน จึงจะอนุญาตให้เด็กเล่นเกมได้ • ตัวอย่าง เกมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา(Educational Game) • เช่น ผู้ปกครองให้เด็กเล่นเกมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่องการบวกลบคูณหาร
เกม เป็นอุปสรรคขัดขวางการเรียนรู้ • เด็กแอบเล่นเกมในห้องเรียน • เด็กวัยรุ่นหนีเรียนเพื่อไปเล่นเกมกับเพื่อน • เด็กเก็บตัวเล่นเกมอยู่แต่ในบ้าน ไม่ได้ทำกิจกรรมต่างๆที่เหมาะสมกับวัย • กิจกรรมหลักภายในครอบครัวคือการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ • ผู้ใหญ่แอบเล่นเกมในเวลางาน
อุปนิสัยต่างๆ ที่เกิดจากการเล่นเกม • ก้าวร้าวรุนแรง หรือ ร่าเริงแจ่มใส • ขี้เกียจสันหลังยาว หรือ ขยันหมั่นเพียร • เห็นแก่ตัว หรือ มีน้ำใจ • เก็บตัว หรือ กล้าแสดงออก • สมองทึบ หรือ มีจินตนาการ • ไม่สนใจอะไร หรือ ช่างสังเกต อุปนิสัยต่างๆเหล่านี้ เกิดจากการเล่นเกมอย่างเดียว? เกิดจากการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง? การคบเพื่อน? หรือเกิดจากตัวเด็กเอง?
กรณีศึกษาจากชีวิตของ อาจารย์วศิน ภิรมย์ • วัยเด็กชอบการเล่นวีดีโอเกมเป็นชีวิตจิตใจ • ทำให้ชอบศิลปะ /ชอบจินตนาการ • ช่วงมัธยมต้นชอบเล่นคอมพิวเตอร์ และเล่นเกมคอมพิวเตอร์บ้าง • หัดวาดภาพในคอมพิวเตอร์ เช่น ภาพตัวละครจากการ์ตูนและเกม เป็นต้น • มีความฝันอยากเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ เหมือนเพื่อนของคุณพ่อ • ช่วงที่เรียนปริญญาตรีด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่พระจอมเกล้าธนบุรี • ได้สร้างสรรค์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ • ได้ทำโครงการพัฒนาเกมไทยสามมิติอัจฉริยะปราบผี เป็นโปรเจคจบ
กรณีศึกษาจากชีวิตของ อาจารย์วศิน ภิรมย์ • หลังเรียนจบได้เปิดสอนทางด้านการพัฒนาเกมที่ NetDesign • สอนหลักสูตร 3D Games Developer • ร่วมกับนักเรียนที่ NetDesign เปิดบริษัทเกมชื่อไอยรา เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ • อดีตนักเรียนได้ทำผลงานมีชื่อเสียงต่างๆ เช่น เกมแพนแพน เกมต้มยำกุ้ง เกมก้านกล้วย เกมยุทธ์ เป็นต้น • ปริญญาโททำวิทยานิพนธ์ทางด้าน E-Learning เมื่อเรียนจบแล้วก็ทำหลักสูตร E-Learning & Courseware Design ขึ้นอีกหลักสูตร • เมื่อเรียนจบปริญญาโททางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงไปเป็นอาจารย์สอนด้านการพัฒนาเกมในมหาวิทยาลัย • สอนวิชา Game Designที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รังสิต และมหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน
อาชีพในฝันของคนส่วนใหญ่อาชีพในฝันของคนส่วนใหญ่ ยังคงเป็นอาชีพที่มีรายได้เยอะ และมีเกียรติในสังคม เช่น แพทย์ วิศวกร นักบริหารธุรกิจ อาชีพในฝันของคนเล่นที่ชอบเกม • ช่างประปา? • ทหาร? • นักแข่งรถ? • นักเต้น? • พ่อมด? • พิธีกร? • นักแสดง? • นักพัฒนาเกม? • เจ้าของบริษัทเกม?
งานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์งานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ • นักออกแบบเกม (Game Designer) • นักออกแบบฉากในเกม (Level Designer) • นักเขียนโปรแกรมเกม (Game Programmer) • นักสร้างสรรค์ศิลปะในเกม (2D/3D Artist) • นักแอนิเมเตอร์ (Animator) • นักทำดนตรีสำหรับเกม / นักทดสอบเกม(Game Tester)
การเรียนรู้ที่เกิดจากเกมคอมพิวเตอร์การเรียนรู้ที่เกิดจากเกมคอมพิวเตอร์ • ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ • ด้านเศรษฐกิจ • ด้านการศึกษา • ด้านสังคม • ครอบครัว • พ่อแม่ ผู้ปกครอง • ครู อาจารย์ • เพื่อน • ผู้เล่นเกม ในด้านบวก ในด้านลบ
สรุปและข้อเสนอแนะ • เกมคอมพิวเตอร์เป็นเกมเพื่อการเรียนรู้ได้จริง ในขณะที่เกมคอมพิวเตอร์ก็เป็นอุปสรรคขัดขวางการเรียนรู้ได้ หรือคุณมีความคิดเห็นเป็นอย่างอื่น