840 likes | 1.33k Views
การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกาย กับโรคเบาหวาน. ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุลม พบ., วว., F.I.M.S. หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูหัวใจ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี. Contents. Benefits How to Foot care Exercise & PAD. ก่อนเป็นโรค. เจ็บป่วย/เป็นโรค. ภาวะสุขภาพ.
E N D
การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกายกับโรคเบาหวานการเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกายกับโรคเบาหวาน ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุลม พบ., วว., F.I.M.S. หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูหัวใจ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี
Contents • Benefits • How to • Foot care • Exercise & PAD
ก่อนเป็นโรค เจ็บป่วย/เป็นโรค ภาวะสุขภาพ เริ่มเป็นเบาหวาน เบาหวาน มีภาวะแทรกซ้อน โรคหัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดเริ่มมีปัญหา การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อการรักษา ความรู้ด้านการออกกำลังกาย ความรู้ด้านการออกกำลังกาย + โรค การตรวจประเมินที่เหมาะสม ความแนะนำที่เหมาะสม
ผลของการเคลื่อนไหวร่างกาย/การออกกำลังกายต่อโรคเบาหวานผลของการเคลื่อนไหวร่างกาย/การออกกำลังกายต่อโรคเบาหวาน มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าการเคลื่อนไหวร่างกายมีความสัมพันธ์กับการลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเบาหวานชนิดที่ 2 โดยมีหลักฐานระดับน่าเชื่อถือได้ว่ามีความสัมพันธ์เชิงปริมาณ และสำหรับผู้ป่วยเบาหวานทุกชนิด การแนะนำให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่มากขึ้นจะสามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจต่าง ๆ ได้ด้วย โดยมีหลักฐานระดับเชื่อถือได้ว่าการควบคุมน้ำหนักจะมีผลเพิ่มการควบคุมเบาหวานจากการเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้น
การออกกำลังกายในโรคเบาหวานการออกกำลังกายในโรคเบาหวาน • การออกกำลังกายหรือมีกิจกรรมทางกายในระดับสูงจะมีผลต่อการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (NIDDM) ได้ 6-56 % • ผู้ที่มีสมรรถภาพร่างกายที่ดีมาก (ฟิตมาก)จะมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานลดลงอย่างมากถึง 16-50% • ผู้ที่มีสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดมากกว่า 31.0 mlO2/kg/min (9 METS) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานลดลงกว่าผู้ที่มีสมรรถภาพน้อย ถึง74 %
REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403
REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403
REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403
Adverse events Placebo Metformin Lifestyle GI 30.7 77.8 12.9 MSK 21.2 20 24.1 Hospitalization > 1 16.1 15.9 15.6 Deaths 0.16 0.20 0.10 REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403
Frequency of ex Age-adjust Age&BMI adjust (per week) 0 1.0 1.0 1 0.74(0.6-.091) 0.89(0.72-1.11) 2 0.55(0.44-0.68) 0.71(0.56-0.89) 3 0.73(0.59-0.9) 0.93(0.75-1.16) 4+ 0.63(0.53-0.75) 0.86(0.71-1.14)
ปริมาณการเคลื่อนไหวร่างกายที่แนะนำส่วนใหญ่ คือ การเคลื่อนไหวร่างกายระดับปานกลางมีการใช้พลังงานประมาณ 1,500 กิโลแคลอรีต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 200 กิโลแคลอรีต่อวัน หรือออกกำลังกายระดับปานกลางประมาณ 30-60 นาทีต่อวัน WHO กำหนด theoretical min = 1000 K/wk
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน • ความรู้พื้นฐานที่ต้องรู้ • ชนิดของเบาหวาน • บทบาทของอินซูลิน • ยาที่ใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน • ภาวะแทรกซ้อน • ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจอื่นๆ
บทบาทของอินซูลิน • นำกลูโคลเข้าสู่เซลล์ • กระตุ้นการสร้างกลูโคสจากแหล่งอื่นๆ เมื่อต้องการ • ต้านการสลายไขมัน(ไตีกลีเซอไรด์)เพื่อให้พลังงานในยามปกติ ผป. เบาหวานชนิดที่ 1 หากขาดอินซูลิน • ยามปกติ น้ำตาลจะสูง • เมื่อออกกำลังกาย น้ำตาลจะสูงอยู่ ร่างกายจะใช้ไม่ได้ สารอื่นๆ จะช่วยกระตุ้นการสลายไขมันเพื่อให้พลังงาน ได้กรดไขมันอิสระ ทำลายที่ตับ หากคั่งเกิดคีโตนในร่างกาย
กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องประเมินอย่างละเอียดกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องประเมินอย่างละเอียด • อายุ มากกว่า 35 ปี • อายุ 25 ปี และมีภาวะ • Type 2 diabetes มากกว่า 10 ปี • Type 1 diabetes มากกว่า 15 ปี • มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอื่น ๆ • มีอาการแสดงของภาวะหลอดเลือดชนิด microvascular disease (proliferative retinopathy or nephropathy, including microalbuminuria) • Peripheral vascular disease • Autonomic neuropathy
ผลของการออกกำลังกายในเบาหวานผลของการออกกำลังกายในเบาหวาน • ทำให้การควบคุมน้ำตาลดีขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานแบบที่ 2 • เพิ่มความไวของอินซูลิน • ควบคุมน้ำหนักและลดไขมันในร่างกาย และการควบคุมน้ำหนักจะทำให้อินซูลินมีความไวเพิ่มขึ้น • ลดปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ สำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ
ผลของการออกกำลังกายในเบาหวานผลของการออกกำลังกายในเบาหวาน • ทำให้ร่างกายมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ทำให้การเผาพลาญพลังงานดีขึ้นด้วย • ลดความเครียด ทำให้อารมณ์ดีขึ้น • ในผู้ที่เริ่มเป็นเบาหวาน การออกกำลังกายจะช่วยลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้
การเตรียมตัวก่อนออกกำลังกายการเตรียมตัวก่อนออกกำลังกาย • ควรจะให้ความรู้กับภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้ป่วยโดยเฉพาะการเกิดภาวะน้ำตาลต่ำและคำแนะนำทั่วไปก่อนจะให้ผู้ป่วยออกกำลังกายระดับหนัก • กิจกรรมที่เบา ผู้ป่วยสามารถเริ่มได้เลย โดยควรรู้ระดับน้ำตาลตนเอง • สำหรับกิจกรรมที่หนักขึ้น • วัยหนุ่ม (< 45 ปี) ที่ควบคุมน้ำตาลได้ดี ควรจะสามารถมีกิจกรรมได้เกือบปกติ • วัยกลางคนจนถึงผู้สูงอายุ การตรวจประเมินสำคัญมาก โดยมีกิจกรรมที่เริ่มจากน้อยๆ และให้ค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
สิ่งที่ต้องประเมินผู้ป่วยก่อนออกกำลังกายสิ่งที่ต้องประเมินผู้ป่วยก่อนออกกำลังกาย • ประวัติและการตรวจร่างกาย • การประเมินภาวะเบาหวาน • การประเมินระบบหัวใจ
ข้อห้ามในการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวานข้อห้ามในการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน • มีอาการเลือดออกในตาหรือหลังการได้รับการรักษาตาด้วยเลเซอร์ • มีไข้หรือการติดเชื้อ • ระดับน้ำตาล > 250 มก.ต่อ ดล.และมีคีโตนในปัสสาวะ หรือระดับน้ำตาลในเลือด > 300 มก. ต่อ ดล. • ระดับน้ำตาลในเลือด < 80 มก.ต่อดล.
ผู้ที่มีภาวะต่อไปนี้ควรงดการออกกำลังกายระดับหนักมากผู้ที่มีภาวะต่อไปนี้ควรงดการออกกำลังกายระดับหนักมาก • มีหลักฐานหรือประวัติให้สงสัยว่ามีภาวะหลอดเลือดหัวใจ • มีภาวะทางไตที่รุนแรง • มีภาวะทางตาที่อยู่ในขั้นที่มีการขยายตัว • ภาวะทางปลายประสาทที่รุนแรงเช่น ไม่มีความรู้สึกของข้อจนเกิดภาวะข้อเสื่อมจากการเสียของปลายประสาท (Charcot’s joint)
คำแนะนำทั่วไป • ระยะแรกควรติดตามระดับน้ำตาลอย่างใกล้ชิด ควรรู้จักอาการน้ำตาลต่ำ • ไม่ควรออกกำลังกายเพียงคนเดียว • ควรจะมีเครื่องหมายหรือสิ่งแสดงว่าเป็นผู้ป่วยเบาหวานติดตัว • ควรจะดื่มน้ำให้เพียงพอทั้งก่อนระหว่างและหลังการออกกำลังกาย • ไม่ควรออกกำลังกายกลางแดดจัดหรือในวันที่ร้อนจัด • ไม่ควรออกกำลังกายมากกว่า 1 ชั่วโมง • ทุกๆครึ่งชั่วโมงของการออกำลังกาย ควรได้รับคาร์โบไฮเดรตเสริมประมาณ 10- 15 กรัม
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน อาการน้ำตาลต่ำ • เหงื่อออกมาก • ใจสั่น • กระวนกระวาย • ปวดศีรษะ • หน้ามืด
การป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ การติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ควรจะตรวจระดับน้ำตาลในเลือดก่อนออกกำลังกาย และหลังออกกำลังกาย 15 นาที โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่การควบคุมน้ำตาลไม่ดี ควรงดการออกกำลังกายหากระดับน้ำตาลในเลือด > 250 มก.ต่อดล. และมีระดับ คีโตนในปัสสาวะ หรือระดับน้ำตาลในเลือด > 300 มก.ต่อดล.
การป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ • ให้กินคาร์โบไฮเดรต ถ้าระดับน้ำตาลในเลือด < 100 มก.ต่อดล. • ให้เรียนรู้การตอบสนองของระดับน้ำตาลของร่างกายต่อการออกกำลังกายชนิดต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในเวลาดึก
การใช้อินซูลิน • ลดขนาดการใช้อินซูลิน ดังนี้ • ใช้ชนิดออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ให้ลดขนาดลง 30 % - 35 % ในวันที่ออกกำลังกาย • ใช้ชนิดออกฤทธิ์ปานกลางกับชนิดออกฤทธิ์สั้นร่วมกันสั้น ให้งดการใช้อินซูลินชนิดออกฤทธิ์สั้นในมื้อก่อนออกกำลังกาย • ใช้ชนิดออกฤทธิ์สั้นบ่อยๆ ให้ลดขนาดลง 30-35% สำหรับมื้อที่ให้ก่อนออกกำลังกายวันนั้น • หากใช้วิธีฉีดแบบใต้ผิวหนังแบบใช้เครื่องฉีดต่อเนื่อง ให้ยกเลิกการตั้งเครื่องเพื่อฉีดปริมาณสูงเป็นช่วงๆ ในช่วงหลังออกกำลังกาย
หลีกเลี่ยงการใช้กล้ามเนื้อที่พึ่งได้รับการฉีดอินซูลินแบบสั้นนั้นอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงหลังฉีดหลีกเลี่ยงการใช้กล้ามเนื้อที่พึ่งได้รับการฉีดอินซูลินแบบสั้นนั้นอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงหลังฉีด • ให้ฉีดอินซูลินที่บริเวณรอบสะดือ แทนกล้ามเนื้อต้นขา หากออกกำลังกายต่อเนื่อง • ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการออกกำลังที่เคยทำประจำ • อย่าออกกำลังกายในเวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์สูงสุด
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน โปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน • ส่วนประกอบ • คำแนะนำ • ข้อควรระวังสำหรับภาวะต่างๆ • ภาวะแทรกซ้อน • ข้อควรระวังและควรปฏิบัติ
Treadmill testing in PAD • Claudication-free walking time/distance (ICD) • Claudication-limited walking time/distance (ACD) • Protocol: constant load test 1.5-2 mph grade 8-12 % : graded protocol 2 mph increment of 3.5 % every 3 min increment of 2 % every 2 min
Role of exercises Improving of: • Initial claudication distance • Absolute claudication distance • Walking ability: speed, duration and less pain • 15 – 30 % increase in oxygen consumption • other risk factors