300 likes | 405 Views
การพัฒนานวัตกรรม Application alert sepsis. โดย นางสาววิจิตรา เทพพันทา พยาบาลวิชาชีพ นายบัญชาชัย แพงพิมพ์โล้ เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์. ที่มาและความสำคัญ. ที่มาและความสำคัญ.
E N D
การพัฒนานวัตกรรม Application alert sepsis โดย นางสาววิจิตรา เทพพันทา พยาบาลวิชาชีพ นายบัญชาชัย แพงพิมพ์โล้ เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์
ที่มาและความสำคัญ • โรงพยาบาลวานรนิวาสได้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด และจัดให้มีระบบช่องทางด่วนSepsis fast tack เพื่อผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพได้ตามระยะเวลาที่เหมาะสม ถึงแม้ว่าจะมีแนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแต่จากการทบทวนการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชื้อของโรงพยาบาลวานรนิวาส พบว่าสาเหตุการสียชีวิตผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดจะพบในผู้ป่วยที่มีโรคร่วม เช่น ESRD CA Pneumonia ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ได้แก่ การไม่ปฏิบัติตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด การประเมินล่าช้า การวินิจฉัยแรกรับล่าช้า และผู้ป่วยได้รับการรักษาล่าช้า อีกทั้งยังพบว่ายังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบที่สมบูรณ์ มีการประมวลผลข้อมูลด้วยมือทำให้อาจเข้าถึงข้อมูลได้ไม่ครบถ้วนครอบคลุม เกิดการผิดพลาดในการประมวลข้อมูลและข้อมูลมีการคลาดเคลื่อน
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง หน้าต่างเข้าสู่ระบบ Sepsis Screening สามารถเข้าสู่ระบบด้วย User name และ Password ของโปรแกรม HOSxP
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง หน้าแรกของโปรแกรมDashboardแสดงจำนวนผู้ป่วยแยกตามประเภท และกราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยแยกเป็นเดือน/ปี
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง ยืนยันตัวตนผู้ป่วยด้วย HN. และคัดกรองผู้ป่วยตามเงือนไขของ qSOFA Score
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง การคัดกรอง Sepsis Screening ผ่านเงือนไข 2ใน 3ของ qSOFA Score ระบบจะแจ้งเตือนข้อความ “สงสัยภาวะ Sepsis” และแจ้งเตือนไปยัง Line Group
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง รายชื่อผู้ป่วยที่คัดกรอง Sepsis Screening ผ่านเงื่อนไข 2ใน 3ของ qSOFA Score จะปรากฎเป็นรายการแบบตาราง
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง แพทย์ยังสามารถ ประเมิน/วินิจฉัย สงสัยหรือไม่สงสัยภาวะSepsis ของผู้ป่วยได้
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง กรณีแพทย์ยืนยัน สงสัยภาวะ Sepsis ระบบแจ้งเตือน “วินิจฉัย/สงสัยภาวะ Sepsis! ให้ activate Sepsis Fast Track
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง สถานะจะเปลี่ยนเป็น Sepsis Fast Track และสามารถจัดการ
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง Hour-1 Bundleหลังจากได้รับการรักษาตามตัวชี้วัดคุณภาพแต่ละตัวชี้วัด ให้กดหยุดเวลาระบบจะหยุดเวลา และบันทึกเวลาในApplication
วิธีการใช้งาน และพัฒนาต่อเนื่อง พยาบาลผู้รายงานข้อมูลผู้ป่วย สามารถเข้าถึงข้อมูลการรายงานจากApplication ได้
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานApplication alert sepsis
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานApplication alert sepsis
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานApplication alert sepsis
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานApplication alert sepsis
ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานApplication alert sepsis
เนื่องด้วยระยะเวลาในการออกแบบการสร้างและพัฒนาApplication alert sepsisมีระยะเวลาที่จำกัดจึงทำให้Application alert sepsisยังไม่เสร็จสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์ สามารถใช้งานได้ในส่วนของการScreeningผู้ป่วย แต่ยังไม่สามารถรายงานผลข้อมูลผู้ป่วยได้ครบถ้วน อีกทั้งพบว่าระบบไม่สามารถรายงานผลข้อมูลการรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดในข้อที่ 6 ได้ และมีการขัดข้องของระบบServerในขณะที่ใช้งานจริง จึงเกิดปัญหาในการเข้าใช้งานอีกทั้งมีระยะเวลาในการศึกษาที่จำกัดทำให้มีการเก็บข้อมูลไม่ได้ตามเป้าหมาย ทางทีมวิจัยจึงจะนำปัญหาที่เกิดขึ้นจากการศึกษาในครั้งนี้และจะนำความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้งานมาแก้ไขและพัฒนาApplication alert sepsis สามารถใช้งานได้เต็มรูปแบบและเก็บข้อมูลในโอกาสต่อไป