1.17k likes | 2.9k Views
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน. โดย ดร.ไชยยศ บุญญากิจ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16 ธันวาคม 2550. กรอบการนำเสนอ. บทนำ ความยั่งยืนของโลก ความยั่งยืนของประเทศไทย บทบาทของภาคธุรกิจ สรุป. การเปลี่ยนแปลงของโลกใน 1 วินาที.
E N D
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย ดร.ไชยยศ บุญญากิจ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16 ธันวาคม 2550
กรอบการนำเสนอ • บทนำ • ความยั่งยืนของโลก • ความยั่งยืนของประเทศไทย • บทบาทของภาคธุรกิจ • สรุป
การเปลี่ยนแปลงของโลกใน 1 วินาที - การเติบโตของประชากร 2.4 คน - การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 390,000 ลบ.ม. - การละลายของธารน้ำแข็ง 1,629 ลบ.ม. - การลดลงของปริมาณก๊าซออกซิเจน (O2) ในอากาศ 710ตัน - การสูญหายของพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก 2,300 ตร.ม. - การบริโภคโค กระบือ 3 ตัว หมู 7 ตัว ไก่ 1,100 ตัว รวมเป็นจำนวนเนื้อสัตว์ทั้งสิ้น 6.9 ตัน - การสูญหายของพื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติ 5,100 ตร.ม. - การผลิตรถยนต์ 1.3 คัน - การผลิตโทรทัศน์ 4.2 เครื่อง - 532 คนไปแมคโดนัลด์ และรับประทานแฮมเบอร์เกอร์มากกว่า 500 ชิ้น
สถานการณ์ความยั่งยืนของโลกสถานการณ์ความยั่งยืนของโลก • ประชากรโลกกำลังเพิ่มขึ้น ค.ศ.2000 (2543) มีจำนวน 6 พันล้านคน และคาดว่า…. ค.ศ.2025 (2568) มีจำนวน 7.9 พันล้านคน ค.ศ.2050 (2593) มีจำนวน 9.3 พันล้านคน ที่มา:TBCSD,2546
โลกกำลังรวยขึ้น GDP PER CAPITA (CONSTANT 1995 US DOLLARS ) ที่มา:TBCSD,Tomorrow’s Market 2546
พัฒนาการของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในสังคมโลกพัฒนาการของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในสังคมโลก
ความยั่งยืนของโลก รอยเท้าทางนิเวศ(Ecological Footprint: EF) : เครื่องมือวัดปริมาณการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ ในแต่ละประเทศ ชุมชน หรือบุคคล เป็นผลรวมของ • พื้นที่ในการผลิต / บริการด้านต่างๆ • พื้นที่ในการกำจัดของเสีย • พื้นที่ในการก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค ที่มา:WWF,Living Planet Report 2004
รอยเท้าทางนิเวศเปรียบเทียบกับ GDP ที่มา:Matt Green;The YUC Factor Presentation.6th APRSPC.Melbourne Australia 2005.
กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทยกรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย • ใช้แนวทาง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” • พัฒนามิติต่างๆ ทั้งด้านคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างมีดุลยภาพ เกื้อกูล และไม่เกิดการขัดแย้งซึ่งกันและกัน • ให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมีคุณภาพและแข่งขันได้ โดยคำนึงถึงขีดจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย (ต่อ) • การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพคนและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น โดยการจัดสรรทรัพยากรและผลประโยชน์จากการพัฒนาและการคุ้มครองอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม • ปลูกฝังค่านิยมของคนให้มีความพอเพียงและพึ่งตนเองได้ • ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยที่อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างเกื้อกูล และสามารถปรับตัวรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงบนฐานของสังคมแห่งความรู้
เกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัดเกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัด • มีความเกี่ยวข้องหรือเป็นเหตุเป็นผลโดยตรงต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • 2. สรุปภาพรวมในระดับประเทศ • 3. เข้าใจได้ง่าย และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐในการวางแผนและปฏิบัติ ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ • 4. วัดค่าได้ในเชิงปริมาณและมีข้อมูลสนับสนุน • 5. มีจำนวนไม่มากเกินไป และหลีกเลี่ยงการใช้ตัวชี้วัดมากกว่า 1 ตัวในการชี้วัดเรื่องเดียวกัน
สัดส่วนของเสียที่ถูกนำมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ต่อของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นสัดส่วนของเสียที่ถูกนำมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ต่อของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้น
จำนวนปีเฉลี่ยที่ได้รับการศึกษาของประชาชนจำนวนปีเฉลี่ยที่ได้รับการศึกษาของประชาชน
ผลคะแนนการทดสอบ 4 วิชาหลัก ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP หมายเหตุ: ตัวเลขไม่รวมการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน ที่มา: สำนักวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สศช. (2547)
ปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ต่อชั่วโมงปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ต่อชั่วโมง ปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ในระยะ 3 กม. จากชายฝั่งทะเล
สัดส่วนของเสียที่ได้รับการบำบัดอย่างถูกต้องสัดส่วนของเสียที่ได้รับการบำบัดอย่างถูกต้อง ปริมาณมูลฝอยจากชุมชนที่ได้รับการบำบัด ระหว่างปี 2541-2546
สัดส่วนพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองสัดส่วนพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง
ดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย (2542-2547)
ภาพรวมของการพัฒนาตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ถึง 3 ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 • พบว่า ภาพรวมดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนมีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยค่าดัชนีเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 62.1 ในปี 2544 เป็น 65.167.468.6 ในปี 2545 ถึง 2547 ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มของการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง • อย่างไรก็ตาม การพัฒนาที่ยั่งยืนยังคงอยู่ในระดับ 2 ซึ่งต้องมีการปรับปรุงให้มีระดับการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่มีระดับการพัฒนาต่ำมาโดยตลอด แสดงว่าการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลกระทบต่อการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม • สรุปได้ว่า การพัฒนาที่ผ่านมา ขาดความสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางเพื่อความยั่งยืนแนวทางเพื่อความยั่งยืน เพิ่มความสมดุลระหว่างปริมาณการบริโภคกับปริมาณทรัพยากรสำรอง โดย….. - ควบคุมการเพิ่มขึ้นของประชากร - พัฒนาประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ เช่น เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology:CT), การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม - บริโภคอย่างชาญฉลาด เช่น เลือกใช้สินค้าฉลากเขียว (Green Product), การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว
เทคโนโลยีสะอาด คืออะไร “เทคโนโลยีสะอาดคือ การพัฒนา เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง ของกระบวนการผลิตหรือการบริการ โดยก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ” Terminology • เทคโนโลยีสะอาด(Cleaner Technology) • เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (Cleaner Production) • การป้องกันมลพิษ (Pollution Prevention) • การลดมลพิษให้เหลือน้อยที่สุด (Waste Minimization) • นิเวศน์เศรษฐกิจ (Eco-efficiency)
วิธีการประเมินเทคโนโลยีสะอาดวิธีการประเมินเทคโนโลยีสะอาด หลักการสำคัญของการประเมินเทคโนโลยีสะอาด คือ การตรวจสอบ กระบวนการผลิตเพื่อ หาแหล่งกำเนิด - แหล่งของเสีย/ใช้ทรัพยากร(น้ำ, พลังงาน) มาก/มีแนวโน้มเกิดอันตรายสูง - ทำโดยการสร้างแผนภาพกระบวนการผลิต - หลักสำคัญคือเมื่อมีสารเข้ามาจะต้องออก ไปในรูปของผลผลิตหรือของเสีย หาแหล่งกำเนิด วิเคราะห์สาเหตุ - ดูจาก 5 แหล่ง คือ วัตถุดิบ เทคโนโลยี การจัดการ ผลิตภัณฑ์และของเสีย - วัดและบันทึกตัวเลขที่เกี่ยวข้อง เช่น น้ำหนัก ปริมาตร ความเข้มข้น เป็นต้น วิเคราะห์สาเหตุ หาวิธีป้องกัน/แก้ไข พิจารณาจากเทคนิค 5 ประการเช่นกัน - เปลี่ยน/ปรับปรุงวัตถุดิบ - เปลี่ยน/ปรับปรุงเทคโนโลยี,อุปกรณ์ - ใช้วิธีการผลิต/จัดการที่เหมาะสม - เปลี่ยน/ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ - การใช้ซ้ำ/หมุนเวียนกลับมาใช้อีก หาวิธีป้องกัน/ แก้ไข
ด้านเศรษฐศาสตร์ "การดำเนินงานการผลิตที่สะอาดในอุตสาหกรรมนม กรณีศึกษา : สำนักงานองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย ภาคใต้" ที่มา: รายงานประจำปี TNEC 2547
ตัวอย่างนโยบายและกิจกรรมที่สำคัญตัวอย่างนโยบายและกิจกรรมที่สำคัญ
เครื่องมือที่ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดเครื่องมือที่ส่งเสริมการผลิตที่สะอาด • ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System, EMS) • การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment, LCA) • การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco-design/Design for Environment, DfE) • ฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco-labeling )
โครงการรุ่งอรุณ ตัวอย่างที่สำคัญของการบริโภคที่ยั่งยืน • โครงการฉลากเขียว • โครงการรุ่งอรุณ • แผนแม่บทการบริโภคที่ยั่งยืน • นโยบายการจัดซื้อที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Productivity) โดยใช้นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • การสัมมนาวิชาการของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ปี 2548 (24พฤศจิกายน 2548) ในเรื่อง ช่วยชาติ…ช่วยโลก…ด้วยการบริโภคที่ยั่งยืน
โครงการรุ่งอรุณ กรณีศึกษาเพื่อการบริโภคที่ยั่งยืน โครงการรุ่งอรุณ (DAWN Project) (โครงการบูรณาการการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมดำเนินการระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ.2539-มกราคม พ.ศ.2544 โดยสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และกระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนโดยกระทรวงพลังงาน) นำแนวคิด Life Cycle Assessment(LCA)มาใช้ในการตัดสินใจเพื่อการดำเนินกิจกรรมในโรงเรียน การดำเนินชีวิตในชุมชน ตัวอย่างกิจกรรมของโรงเรียนและชุมชน เช่น กีฬาสี โครงงานนักเรียน การปลูกพืช (การทำเกษตรอินทรีย์ การส่งเสริมการบริโภคผักใน ชุมชน) เป็นต้น
ผลิตน้ำเชื่อม กรองน้ำเชื่อม ลดอุณหภูมิน้ำเชื่อม ทรัพยากร ผลกระทบ ผสมหัวเชื้อ น้ำ + พลังงาน น้ำตาลทราย ผงถ่าน สารช่วยกรอง พลังงาน+แผ่นกรอง ผสมน้ำและอัดก๊าซ พลังงาน ผงถ่าน สิ่งปนเปื้อน บรรจุขวด พลังงาน น้ำ น้ำร้อน พลังงาน ขนส่งผลิตภัณฑ์ ไอน้ำ พลังงาน จำหน่าย CO2 พลังงาน ขยะ (ของเหลว, เศษฝาขวด) พลังงานไฟฟ้า CO2 ขยะบรรจุภัณฑ์ ตัวอย่าง: การนำ LCA ไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียน โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องการสูญเสียจากการบริโภคน้ำอัดลมโรงเรียนสวนแตงวิทยา จ.สุพรรณบุรี
สรุป • การดื่มน้ำเปล่าดีกว่า มีประโยชน์ต่อสุขภาพกาย สุขภาพเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม • กิจกรรมที่มีขั้นตอนเพิ่มมากขึ้น มักจะมีการใช้ ทรัพยากรเพิ่มขึ้นและมีของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม มากขึ้นเช่นกัน
ฉลากเขียว (green label หรือ eco-label) • ฉลากที่ให้กับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน • เน้นคุณค่าทางสิ่งแวดล้อม • เป็นเครื่องมือป้องกันรักษาสิ่งแวดล้อมผ่านทางการผลิตและการบริโภคของประชาชน http://www.tei.or.th/bep/th_bep_greenlabel_main.html
LCI of Washing Machines Source: PA Consulting Group, 1992
GL Criteria of Washing Machines • Good washing performance • Electricity consumption for normal cycle not exceed 0.04 kWh/ kg of washload • Water consumption for normal cycle not exceed 35 litters/kg of washload • Noise level not exceed 65 dBA • Use mark/symbol to identify plastic types
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ฉลากเขียวตัวอย่างผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว
Who are we • WBCSD • TBCSD Thailand Business Council for Sustainable Development
WBCSD Coalition of 190 leading companies • Market capitalization: USD 6trillion • Total turnover: USD 5,2 trillion • Total member company employees:12 million • Global outreach • 3 billion consumers per day buy a product or service from a WBCSD member company
Thailand BCSD Regional Network CSBD Denmark The Excel Partnership Canada NHO-Norway Vernadsky Foundation Russia BCSD UK BCSD Czech Republic CGLI USA/Canada BCSD Hungary Econsense Germany BCSD Mongolia BCSD Austria BCSD Korea EPE France BCSD Portugal BCSD Croatia BCSD China US BCSD FFA Spain Keidanren Japan FE BCSD Spain BCSD Kazakhstan BCSD Turkey BCSD Mexico BCSD Gulf of Mexico BCSD Pakistan APEQUE Algeria AEEC Egypt CentraRSE Guatemala BEC Hong Kong UniRSE Nicaragua CII BCSD Honduras AED Costa Rica BCSD Taiwan BCSD El Salvador IntegraRSE Panama BCSD India BCSD Malaysia BCSD Colombia BCSD Nigeria BCSDVenezuela PBE Philippines BCSD Ecuador BCSD Sri Lanka BCSD Brazil Perú 2021 BCSD Zimbabwe BCA Australia BCSD Bolivia WASIG W.Australia FEMA Mozambique BCSD Paraguay Accion RSE Chile BCSD South Africa DERES Uruguay BCSD New Zealand BCSD Argentina
TBCSD TBCSD Thailand Business Council for Sustainable Development