210 likes | 343 Views
สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สรุปผลคดีเฉพาะพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทำลายและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจยึดดำเนินคดีแล้ว ในปี พ.ศ. 2551 ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง).
E N D
สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สรุปผลคดีเฉพาะพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทำลายและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจยึดดำเนินคดีแล้วในปี พ.ศ. 2551 ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
สรุปผลคดีเฉพาะพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทำลายและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจยึดดำเนินคดีแล้วในปี พ.ศ. 2552 ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
เปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกเปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ในปีพ.ศ.2551 กับ ปีพ.ศ.2552 ของแต่ละจังหวัด ในสังกัดสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
เปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกเปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ในปีพ.ศ.2551 กับปีพ.ศ.2552 ท้องที่จังหวัดลำปาง ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
เปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกเปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ในปีพ.ศ.2551 กับปีพ.ศ.2552 ท้องที่จังหวัดแพร่ ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
เปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกเปรียบเทียบสถิติการตรวจยึดดำเนินคดีพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ในปีพ.ศ.2551 กับปีพ.ศ.2552 ท้องที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ของสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลำปาง)
ผลการดำเนินคดี แยกเป็นรายอำเภอ ท้องที่จังหวัดแพร่ ประจำปี พ.ศ.2552
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ามาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ส่วนป้องกันรักษาป่า สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) • จัดตั้งสายตรวจปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายป่าไม้ จำนวน 3 สาย • - สายตรวจที่ 1 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดลำปาง • - สายตรวจที่ 2 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดแพร่ • - สายตรวจที่ 3 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ามาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ส่วนป้องกันรักษาป่า สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) (ต่อ) 2.จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันรักษาป่าและไฟป่าแบบบูรณาการ ของหน่วยป้องกันรักษาป่า จำนวน 11 ศูนย์ฯ แบ่งเป็น - พื้นที่จังหวัดลำปาง จำนวน 5 ศูนย์ปฏิบัติการฯ - พื้นที่จังหวัดแพร่ จำนวน 4 ศูนย์ปฏิบัติการฯ - พื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 2 ศูนย์ปฏิบัติการฯ
ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันรักษาป่าและไฟป่า ที่ 6 รับผิดชอบพื้นที่อำเภอสอง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยมีหัวหน้า/หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ พร.17 (ร้องกวาง) เป็นหัวหน้า/ที่ตั้งศูนย์ จังหวัดแพร่ ศูนย์ฯ ที่ 6 ประกอบด้วย 1. พร.10 (ดอยหลวง)* 2. พร.11 (แม่ปุง) 3. พร.14 (แม่สอง) 4. พร.15 (แดนชุมพล) 5.พร.16 (ห้วยแก๊ต) 6. พร.17 (ร้องกวาง)
ศูนย์ฯป้องกันรักษาป่าและไฟป่า ที่ 7 รับผิดชอบพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอสูงเม่น อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอร้องกวางบางส่วน อำเภอสองบางส่วน จังหวัดแพร่ โดยมีหัวหน้า/หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ พร.21 (แม่ปาน) เป็นหัวหน้า/ที่ตั้งศูนย์ ศูนย์ฯ ที่ 7 ประกอบด้วย 1. พร.7 (แม่แย้ - แม่สาง) 2. พร.8 (ห้วยขมิ้น) 3. พร.9 (แม่แฮด) 4. พร.18 (น้ำเลา) 5.พร. 20 (แม่จั๊วะ) 6. พร.21 (แม่ปาน)*
ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันรักษาป่าและไฟป่า ที่ 8 รับผิดชอบพื้นที่อำเภอลอง อำเภอวังชิ้นบางส่วน จังหวัดแพร่ โดยมีหัวหน้า/หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ พร.5 (แม่ต้าตอนขุน) เป็นหัวหน้า/ที่ตั้งศูนย์ ศูนย์ฯ ที่ 8 ประกอบด้วย 1. พร.3 (นาอุ่นน่อง) 2. พร.4 (บ้านปิน) 3. พร.5 (แม่ต้าตอนขุน)* 4. พร.6 (แม่ต้าตอนใต้) 5. พร.12 (สะเอียบ)
ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันรักษาป่าและไฟป่า ที่ 9 รับผิดชอบพื้นที่อำเภอวังชิ้น อำเภอลองบางส่วน อำเภอเด่นชัยบางส่วน จังหวัดแพร่ โดยมีหัวหน้า/หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ พร.23 (บ่อแก้ว) เป็นหัวหน้า/ที่ตั้งศูนย์ ศูนย์ฯ ที่ 9 ประกอบด้วย 1. พร.1 (แม่สรอย) 2. พร.22 (แก่งหลวง) 3. พร.23 (บ่อแก้ว)* 4. พร.24 (แม่สิน) 5. พร.25 (แม่แปง)
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ามาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ส่วนป้องกันรักษาป่า สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) (ต่อ) 3. กำหนดกลยุทธ์ให้หน่วยป้องกันรักษาป่า จัดทำแผนปฏิบัติงาน ป้องกันรักษาป่าและไฟป่าแบบการมีส่วนร่วม 4. ให้ศูนย์ปฏิบัติการฯ ที่มีพื้นที่สวนป่า จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกัน และปราบปรามการบุกรุกทำลายป่าและสวนป่า
5. จัดตั้งจุดสกัดในพื้นที่ล่อแหลมต่อการบุกรุกทำลายป่าในพื้นที่ รับผิดชอบทั้ง 3 จังหวัด จำนวน 8 จุด ประกอบด้วย จังหวัดลำปาง จำนวน 3 จุด คือ - จุดสกัดแม่ทรายคำ อ.เมือง จ.ลำปาง - จุดสกัดหอรบ อ.เถิน จ.ลำปาง - จุดสกัดแม่ตีบ อ.งาว จ.ลำปาง จังหวัดแพร่ จำนวน 3 จุด คือ - ด่านห้วยขมิ้น อ.เมือง จ.แพร่ - ด่านแม่ปาน อ.เด่นชัย จ.แพร่ - ด่านแม่สอง อ.สอง จ.แพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 2 จุด คือ - จุดสกัดน้ำอ่าง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ - จุดสกัดแยกสักใหญ่ อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์
6. จัดตั้งด่านตรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร ฯลฯ ตามนโยบายของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดละ 2 จุด ได้แก่ จังหวัดลำปาง 2 จุด - จุดตรวจแม่ตีบ ถนนสาย อ.งาว จ.ลำปาง –อ.สอง จ.แพร่ - จุดตรวจหอรบ ถนนสาย อ.เถิน จ.ลำปาง – อ.ทุ่งเสลี่ยม จ.สุโขทัย จังหวัดแพร่ 2 จุด - จุดตรวจปางเคาะ ถนนสาย อ.เด่นชัย จ.แพร่ – อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย - จุดตรวจด่านนางฟ้า ถนนสาย อ.สอง จ.แพร่ – อ.งาว จ.ลำปาง จังหวัดอุตรดิตถ์ 2 จุด - จุดกรวดน้ำอ่าง ถนนสาย จ.อุตรดิตถ์ - จ.พิษณุโลก อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ - จุดตรวจสักใหญ่ ถนนสาย จ.อุตรดิตถ์ – อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ามาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ส่วนป้องกันรักษาป่า สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) (ต่อ) 7. สำรวจไม้มีค่าที่มีขนาดโต 150 เซนติเมตรขึ้นไปในพื้นที่ล่อแหลม ให้สนธิกำลังระหว่างเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารและฝ่ายป่าไม้ พร้อมจับค่าพิกัด และจัดทำแผนที่สถานการณ์ โดยมอบให้ร่วมกันดูแลรับผิดชอบ เช่น บริเวณค่ายประตูผา 8. ทำลายเส้นทางภายในป่าที่ล่อแหลมต่อการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า และเป็นพื้นที่ เสี่ยงต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เช่น พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ทรายคำ และบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม และต่อเนื่องบริเวณ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง จำนวน 57 จุด
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ามาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ส่วนป้องกันรักษาป่า สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) (ต่อ) 9. จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายสวนป่าท้องที่อำเภองาว จังหวัดลำปาง โดยสนธิกำลังจัดตั้งฐานปฏิบัติการไว้ประจำอยู่ที่ สวนป่าห้วยทาก อำเภองาว จังหวัดลำปาง 10. จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายสวนป่าท้องที่จังหวัดแพร่ โดยสนธิกำลังจัดตั้งฐานปฏิบัติการไว้ประจำอยู่ที่ สวนป่าแม่ต้าอำเภอลอง จังหวัดแพร่
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน • นโยบายของรัฐบางประการที่ขาดความชัดเจนและไม่มีความเชื่อมโยงสอดรับสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน บางครั้งทำให้เป็นการเอื้อต่อการบุกรุกทำลายป่า เช่น โครงการออกเอกสารสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับที่ดินของรัฐต่าง ๆ โครงการปลูกยางพารา หรือการส่งเสริมปลูกพืชเชิงเดี่ยว ฯลฯ • ระเบียบกฎหมายข้อบังคับที่ล้าสมัยขาดความชัดเจนและบทลงโทษที่เบาเกินไป ไม่เหมาะสมในการบังคับใช้กับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น การเคลื่อนย้ายไม้เรือนเก่า การทำไม้สวนป่า ฯลฯ • ปัญหาในการชักลากไม้ของกลางมาเก็บรักษาเมื่อมีการตรวจยึดดำเนินคดี
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน (ต่อ) • ปัญหาการทำไม้ในที่ดินกรรมสิทธิ์นอกจากไม้สักและไม้ยาง ยังไม่มีมาตรการควบคุมที่ดีพอ • การขออนุญาตใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่างๆ ยังมีการพยายามที่จะไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมาย ทำให้เกิดปัญหาและการกระทบกระทั่งระหว่างหน่วยงาน