690 likes | 922 Views
การประชุม. หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น แก่ทีมปฏิบัติงานของกองคลัง/กองพัสดุ. โครงการ GFMIS. Day 2. โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์. สำหรับระบบจัดซื้อ. วาระการนำเสนอ.
E N D
การประชุม หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น แก่ทีมปฏิบัติงานของกองคลัง/กองพัสดุ โครงการ GFMIS Day 2 โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับระบบจัดซื้อ
วาระการนำเสนอ • โครงสร้างระบบจัดซื้อ2. รายละเอียดระบบงาน และรายงาน / ฟอร์ม3. ถาม – ตอบ 4. อธิบายแบบสอบถาม5. การดำเนินการในขั้นต่อไป
วาระการนำเสนอ โครงสร้างระบบจัดซื้อ
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS (องค์กรการจัดซื้อ) การจัดซื้อ/จัดจ้าง รัฐบาลไทย ส่วนราชการระดับกรม (โรงงาน) ผู้รับผิดชอบงานจัดซื้อ/จัดจ้างระดับกรม(ส่วนกลาง) (กลุ่มการจัดซื้อ) ผู้รับผิดชอบงานจัดซื้อ/จัดจ้างระดับจังหวัด(ส่วนภูมิภาค)
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS องค์กรการจัดซื้อหมายถึง องค์กรที่รับผิดชอบในการจัดซื้อจัดจ้าง รวมถึงการเจรจาต่อรองกับผู้ขาย โดยได้มีการกำหนดให้องค์กรการจัดซื้อ อยู่ในระดับรัฐบาลไทยคือประเทศไทยมี 1 องค์การจัดซื้อ องค์กรการจัดซื้อที่ได้ออกแบบ คือ P000
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS โรงงานหมายถึง สถานที่ดำเนินการด้านการจัดซื้อ/จัดจ้าง ซึ่งกำหนดให้เป็นส่วนราชการระดับกรม เพื่อประโยชน์ในการแสดงรายงานการจัดซื้อจัดจ้างได้ในระดับกรม รูปแบบของโรงงานที่ได้ออกแบบ คือ XXXX
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS กลุ่มการจัดซื้อหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดซื้อ/จัดจ้างโดยแยกเป็น 2 ระดับ คือ 1. หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดซื้อ/จัดจ้างส่วนกลางจะกำหนดเป็นรหัสกรม2. หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดซื้อ/จัดจ้างส่วนภูมิภาคในแต่ละจังหวัด จะกำหนดเป็นรหัสจังหวัด รูปแบบของกลุ่มการจัดซื้อที่ได้ออกแบบ คือ XXX
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS กระทรวงพลังงาน XXXX สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน โรงงาน XXXX กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ XXXX กรมธุรกิจพลังงาน XXX สำนักงานปลัดกระทรวง ระดับกรม(ส่วนกลาง) XXX กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ XXX กรมธุรกิจพลังงาน กลุ่มการจัดซื้อ PXX จังหวัด ระดับจังหวัด(ส่วนภูมิภาค)
www.gfmis.go.th โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ XXXX สำนักงานปลัดกระทรวง โรงงาน XXXX กรมประมง XXXX กรมปศุสัตว์ XXX สำนักงานปลัดกระทรวง ระดับกรม(ส่วนกลาง) XXX กรมประมง XXX กรมปศุสัตว์ กลุ่มการจัดซื้อ PXX จังหวัด ระดับจังหวัด(ส่วนภูมิภาค)
www.gfmis.go.th โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS กระทรวงสาธารณสุข XXXX สำนักงานปลัดกระทรวง โรงงาน XXXX กรมการแพทย์ XXXX กรมควบคุมโรค XXX สำนักงานปลัดกระทรวง ระดับกรม(ส่วนกลาง) XXX กรมการแพทย์ XXX กรมควบคุมโรค กลุ่มการจัดซื้อ PXX จังหวัด ระดับจังหวัด(ส่วนภูมิภาค)
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS
AAAAAAAA + YY + XXXXXX โดย AAAAAAAA คือ รหัส UNSPSC 8 หลัก (UNSPSC - United Nations Standard Product and Service Code) YY คือ แหล่งที่มาของมาตรฐานรหัส XXXXXX เช่น 01 คือมาตรฐานรหัส EGII (EGII - ECCMA Global Item Identifier) XXXXXX คือ รหัสมาตรฐานของสินค้า/บริการแต่ละรายการ เช่น รหัสสินค้า/บริการตาม EGII โครงสร้างมาตรฐานรหัสสินค้าและบริการภาครัฐ (Government Products and Service Code - GPSC)
1. 14.11.18.0001-044111 ตราไปรษณียากร โดย 14.11.18.00 คือ รหัส UNSPSC 8 หลัก 01 คือ มาตรฐานรหัส EGII 044111 คือ รหัสสินค้า/บริการตาม EGII 2. 44.12.16.0001-043969 น้ำยาลบคำผิด โดย 44.12.16.00 คือ รหัส UNSPSC 8 หลัก 01 คือ มาตรฐานรหัส EGII 043969 คือ รหัสสินค้า/บริการตาม EGII โครงสร้างมาตรฐานรหัสสินค้าและบริการภาครัฐ (GPSC) ตัวอย่างวัสดุ
1. 43.21.15.03 01-042041 Notebook Computer โดย 43. 21.15.03 คือ รหัส UNSPSC 8 หลัก 01 คือ มาตรฐานรหัส EGII 042041 คือ รหัสสินค้า/บริการตาม EGII 2. 44.10.15.0101-007697 เครื่องถ่ายเอกสาร โดย 44.10.15.01 คือ รหัส UNSPSC 8 หลัก 01 คือ มาตรฐานรหัส EGII 007697 คือ รหัสสินค้า/บริการตาม EGII โครงสร้างมาตรฐานรหัสสินค้าและบริการภาครัฐ (GPSC) ตัวอย่างครุภัณฑ์
โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS ข้อมูลหลักผู้ขาย เป็นรหัสอ้างอิงผู้ขายแต่ละราย • กลุ่มผู้ขาย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ • กลุ่มผู้ขายทั่วไป - นิติบุคคล • กลุ่มผู้ขายทั่วไป – บุคคลธรรมดา • กลุ่มส่วนราชการ
วาระการนำเสนอ • โครงสร้างระบบจัดซื้อ2. รายละเอียดระบบงาน และรายงาน / ฟอร์ม3. ถาม – ตอบ 4. อธิบายแบบสอบถาม5. การดำเนินการในขั้นต่อไป
วาระการนำเสนอ FA ระบบสินทรัพย์ถาวร
วาระการนำเสนอ - รายละเอียดระบบสินทรัพย์ถาวร - รายงาน / ฟอร์ม
ภาพรวมระบบสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) ประมวลสิ้นงวด/สิ้นปีบัญชี/อื่นๆ (Periodic Processing) 2 การได้มาของสินทรัพย์ (Asset Acquisition) 1 รายงาน 3 การกำหนดรหัสสินทรัพย์ การตัดจำหน่าย (Asset Master) (Asset Retirement) 4
ภาพรวมระบบสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) 2 การได้มาของสินทรัพย์ (Asset Acquisition) • บันทึกผ่านระบบจัดซื้อ • บันทึกรับบริจาค • รับสินทรัพย์ระหว่างทำ และ สินทรัพย์ • ระหว่างทำโครงการเป็นสินทรัพย์ • ปรับปรุง/ต่อเติมสินทรัพย์ • รับโอนสินทรัพย์ระหว่างกรม • บันทึกรับสินทรัพย์ที่สำรวจพบ 1 การกำหนดรหัสสินทรัพย์ (Asset Master)
ภาพรวมระบบสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) การกำหนดรหัสสินทรัพย์ (Asset Master) 2 การได้มาของสินทรัพย์ 3 (Asset Acquisition) การตัดจำหน่าย (Asset Retirement) 1 • บริจาคสินทรัพย์ • ขายสินทรัพย์ • สินทรัพย์สูญหาย • สินทรัพย์เสื่อมสภาพก่อน หมดอายุการใช้งาน
ภาพรวมระบบสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) การได้มาของสินทรัพย์ (Asset Acquisition) 1 การกำหนดรหัสสินทรัพย์ การตัดจำหน่าย (Asset Master) (Asset Retirement) 2 3 4 ประมวลสิ้นงวด/สิ้นปีบัญชี/อื่นๆ (Periodic Processing) • คำนวณค่าเสื่อมราคา (เส้นตรง) • ตรวจนับสินทรัพย์ • บันทึกโอนค่าใช้จ่ายโครงการเป็นสินทรัพย์ระหว่างทำ • ยืมคืนสินทรัพย์ • โอนสินทรัพย์ระหว่างกอง • ปรับมูลค่าสินทรัพย์ • ประมวลสิ้นปี
โครงสร้างระบบสินทรัพย์ในภาพรวมโครงสร้างระบบสินทรัพย์ในภาพรวม รายงานสินทรัพย์ ประเภทต่างๆ หมวดสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ ใบจัดซื้อ/จัดจ้าง รายการต่างๆของสินทรัพย์
การกำหนดรหัสสินทรัพย์ถาวร:หมวดสินทรัพย์ (Asset Class) รหัสบัญชีแยกประเภท หมวดสินทรัพย์
วาระการนำเสนอ - รายละเอียดระบบสินทรัพย์ถาวร - รายงาน / ฟอร์ม
แบบฟอร์มที่ใช้ในระบบ GFMIS สำหรับกำหนดรหัสสินทรัพย์ • แบบฟอร์มคำขอนอกระบบGFMIS • คำขอสร้าง/ปรับปรุงหมวดสินทรัพย์ • คำขอสร้าง/ปรับปรุงรหัสสินทรัพย์ • คำขอโอน, ขาย, ตัดจำหน่าย, บริจาค สินทรัพย์
รายงานที่ใช้ในระบบ GFMIS สำหรับสินทรัพย์ • รายงาน • รายงานสินทรัพย์รายตัว • บันทึกรับสินทรัพย์ • รายงานค่าเสื่อมราคาสะสมรายเดือน
ประโยชน์:ตัวอย่าง รายงานสินทรัพย์รายตัว
รายงานสินทรัพย์บันทึกรับ: ตัวอย่าง
รายงานสินทรัพย์ค่าเสื่อมราคา: ตัวอย่าง
การเตรียมข้อมูลในภาพรวมการเตรียมข้อมูลในภาพรวม
การเตรียมข้อมูลในภาพรวมการเตรียมข้อมูลในภาพรวม I. กรณีที่มีมูลค่าทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) และได้ทำการเก็บทะเบียนสินทรัพย์ไว้ หรือ II. กรณีที่ไม่มีมูลค่าทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) และ/หรือได้ทำการเก็บทะเบียนสินทรัพย์ไว้หรือไม่ก็ตาม
การเตรียมข้อมูลในภาพรวมการเตรียมข้อมูลในภาพรวม • I. กรณีที่มีมูลค่าทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) และได้ทำการเก็บทะเบียนสินทรัพย์ไว้ • ขั้นตอนในภาพรวม • เก็บรายละเอียดสินทรัพย์(ครุภัณฑ์)เช่นชื่อ อายุการใช้งาน หน่วยงาน • ตรวจสอบยอดมูลค่าทุนของสินทรัพย์แต่ละประเภทที่ได้จัดซื้อจัดหามา • ตรวจสอบยอดมูลค่าค่าเสื่อมสะสมของสินทรัพย์แต่ละประเภทที่ได้จัดซื้อจัดหามาจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2547 • ผลรวมของยอดมูลค่าทุนของสินทรัพย์แต่ละรายสินทรัพย์จะต้องเท่ากับที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) • ผลรวมของยอดมูลค่าค่าเสื่อมสะสมของสินทรัพย์แต่ละรายสินทรัพย์จะต้องเท่ากับที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล)
การเตรียมข้อมูลในภาพรวมการเตรียมข้อมูลในภาพรวม • กรณีที่มีมูลค่าทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) และได้ทำการเก็บทะเบียนสินทรัพย์ไว้ ตัวอย่าง:งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) ครุภัณฑ์สำนักงาน-ราคาทุน 300,000.00 ครุภัณฑ์สำนักงาน-ค่าเสื่อมสะสม 100,000.00 ประกอบด้วยทะเบียนครุภัณฑ์ 2 ครุภัณฑ์ ราคาทุน ค่าเสื่อมสะสม ครุภัณฑ์ที่ 1 120,000.00 20,000.00 ครุภัณฑ์ที่ 2 180,000.00 80,000.00 รวม 300,000.00 100,000.00
การเตรียมข้อมูลในภาพรวมการเตรียมข้อมูลในภาพรวม II. กรณีที่ไม่มีมูลค่าทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) และ/หรือได้ทำการเก็บทะเบียนสินทรัพย์ไว้หรือไม่ก็ตาม • สามารถบันทึกรับได้ภายหลังจากระบบได้ใช้งานแล้ว • ขั้นตอนในภาพรวม • เมื่อสำรวจพบตีราคายุติธรรม หรือ ใช้มูลค่าสุทธิ (Net Book Value) ขออนุมัติ และให้แจ้ง สตง. เพื่อประกอบการตรวจสอบ • เก็บรายละเอียดสินทรัพย์(ครุภัณฑ์)เช่น ชื่อ อายุการใช้งานที่เหลือ หน่วยงาน • บันทึกรับเข้าในระบบ GFMIS
วาระการนำเสนอ PO ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
วาระการนำเสนอ - รายละเอียดระบบจัดซื้อจัดจ้าง - รายงาน / ฟอร์ม
3. ผู้ขาย 4. ฝ่ายพัสดุ 2. ฝ่ายพัสดุ จัดเตรียมสินค้าและจัดส่งสินค้าตามรายละเอียดในใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง 1 2 4 • คณะกรรมการตรวจรับ ดำเนินการตรวจรับพัสดุ/การจ้างดำเนินการ ตามระเบียบและวิธีการปกติ • บันทึกรับพัสดุในระบบ GFMIS • รับเอกสาร และบันทึกข้อมูล รายการขอเสนอซื้อ โดยเลือกรายการพัสดุจากระบบ สำหรับการจัดซื้อ/จัดจ้าง ที่มีมูลค่ารวมมากกว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท 6. หน่วยงานกลาง 3 สร้าง/แก้ไข/ลบ ข้อมูลผู้ขาย 5 5. หน่วยงานตั้งเบิก 6 • ตรวจสอบความถูกต้องเอกสารสำหรับการตั้งเบิก และส่งให้หน่วยงานตั้งเบิก วางฎีกาเพื่อจ่ายเงินให้ผู้ขาย 1. ส่วนงานผู้ขอเสนอซื้อ • แจ้งความจำนงขอเสนอซื้อเสนอจ้าง จัดทำฎีการตั้งเบิกเพื่อจ่ายเงินให้ผู้ขาย กระบวนงานการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ที่มี GFMIS Terminal
www.gfmis.go.th 1 การบันทึกใบขอเสนอซื้อ/เสนอจ้าง เป็นเอกสารอ้างอิงในการจัดทำเอกสารใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง การสร้าง/แก้ไข/ลบ รายการพัสดุ, กลุ่มพัสดุ ในระบบ เพื่อใช้ในการเลือกรายการบันทึกใบขอเสนอซื้อ/เสนอจ้าง การสร้าง/แก้ไข/ลบ ข้อมูลผู้ขาย เพื่อใช้ในการกำหนดในรายละเอียดการจัดทำเอกสารใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง การบันทึกเอกสารใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง 2 3 4 กระบวนงานในการบันทึกใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง
www.gfmis.go.th การบันทึกรับพัสดุตามรายการสั่งซื้อ/สั่งจ้าง การบันทึกสร้าง/ปรับปรุงข้อมูลหลัก ครุภัณฑ์ 5 6 กระบวนงานในการบันทึกใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง