670 likes | 2.18k Views
การประยุกต์ทฤษฎีมาใช้ ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพ. PRECEDE Framework. ผู้พัฒนาโมเดล : Lawrence W. Green et al., 19 80 PRECEDE : ย่อมาจาก Predisposing, Reinforcing, and Enabling Causes in Educational Diagnosis and Evaluation. PRECEDE Framework. แนวคิด :
E N D
การประยุกต์ทฤษฎีมาใช้การประยุกต์ทฤษฎีมาใช้ ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
PRECEDE Framework ผู้พัฒนาโมเดล : Lawrence W. Green et al., 1980 PRECEDE : ย่อมาจาก Predisposing,Reinforcing, and Enabling Causes in Educational Diagnosis and Evaluation
PRECEDE Framework แนวคิด: • พฤติกรรมมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยรวมกัน • .การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจึงต้องอาศัยวิธีการหลายวิธีการ หรือศาสตร์ต่างๆ หลายแขนงมาผสมผสานคือบูรณาการในการเปลี่ยนแปลง
Knowledge Attitude Value Belief Demographic data Predisposing
Accessibility Economics Skill etc Enabling
Parents Friends Teachers Bosses etc Reinforcing
Health Belief Model (HBM) ผู้พัฒนา Model: Kurt Lewin (1951)การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรม จะทำในสิ่งที่ตนคาดว่าเห็นผลดี และจะหลีกเลี่ยงที่ตนไม่ปรารถนา
Health Belief Model (HBM) Rosen stock (1966)ได้นำรูปแบบมาอธิบายพฤติกรรมป้องกันโรคของบุคคล Beckerและ Maiman (1975) :ใช้ทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคของบุคคล
แนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคลแนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคล การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมป้องกันโรคหรือไม่นั้น ต้องมีความเชื่อว่า • ตนเองมีโอกาสเป็นโรคนั้น ๆ ได้ • โรคนั้น ๆ มีอาการรุนแรงอาจทำให้ตาย หรือพิการได้
องค์ประกอบของ Health Belief Model(Key Element) • การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค • การรับรู้ความรุนแรงของโรค • การรับรู้ถึงผลประโยชน์และค่าใช้จ่าย • แรงจูงใจให้ปฏิบัติ • ปัจจัยร่วม
แนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคลแนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคล การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมป้องกันโรคหรือไม่นั้น ต้องมีความเชื่อว่า 3. เชื่อในผลประโยชน์ที่ได้รับ หากไปรับบริการการป้องกันโรคนั้น ๆ 4. .มีปัจจัยแรงจูงใจให้เกิดพฤติกรรม
แนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคลแนวคิดเน้นความเชื่อของบุคคล การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมป้องกันโรคหรือไม่นั้น ต้องมีความเชื่อว่า 5. มีปัจจัยร่วมได้แก่ อายุ เพศ บุคลิกภาพ ฯลฯ 6. ปัจจัยกระตุ้น ได้แก่ ข่าวสาร ซึ่งบุคคลได้รับจากสื่อมวลชน เจ้าหน้าที่ เพื่อนบ้าน ฯลฯ
ความพร้อมที่จะให้ความร่วมมือ ปัจจัยร่วม พฤติกรรมความร่วมมือ แรงจูงใจ - แรงจูงใจเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไป - ความตั้งใจที่จะยอมรับการรักษาและปฏิบัติตามคำแนะนำ-กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ด้านประชากร -ผู้ป่วยเด็ก คนชรา ด้านโครงสร้าง - ค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการรักษา ความยุ่งยาก อาการข้างเคียง ความเป็นไปได้ที่จะปฏิบัติตามการรักษา และแบบแผนพฤติกรรมใหม่ ด้านทัศนคติ -ความพึงพอใจต่อการมาโรงพยาบาล แพทย์ผู้รักษา เจ้าหน้าที่อื่น ๆ ขั้นตอนของคลินิก และความสะอาด ด้านปฏิสัมพันธ์ -ลักษณะชนิดและความสม่ำเสมอของความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้ป่วย ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ด้านสนับสนุน -ประสบการณ์ต่อการปฏิบัติ ความเจ็บป่วยหรือการรักษา แหล่งของคำแนะนำข่าวสารและส่งต่อเพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง คุณค่าของการลดภาวะการเจ็บป่วย ผู้ป่วยจะคาดคะเนถึง : - โอกาสเสี่ยงต่อโรคหรือการเป็นซ้ำ - ความเชื่อต่อการวินิจฉัยของแพทย์ - การง่ายต่ออากรเจ็บป่วยโดยทั่วไป - อันตรายที่จะเกิดต่อร่างกา - ผลกระทบต่อบทบาททางสังคม - อาการของโรคในปัจจุบันที่เคยเป็นมาก่อน ความร่วมมือในการปฏิบัติตามคำแนะนำ เช่น การรับประทานยา ควบคุมอาหาร ออกกำลังการ มาตรวจตามนัด ปรับปรุงนิสัยส่วนตัวบางอย่างเพื่อสุขภาพที่ดี ความร่วมมือในการลดภาวะการเจ็บป่วย ผู้ป่วยจะคาดคะเนถึง - :ความปลอดภัยของการรักษา - ประสิทธิภาพของการรักษ - ความเชื่อถือและไว้วางใจในแพทย์ผู้ รักษา วิธีรักษา -โอกาสที่จะทุเลาหรือหายป่วย
การรับรู้ส่วนบุคคล ปัจจัยร่วม แนวโน้มปฏิบัติ ตัวแผนด้านประชากร:-อายุ เพศ เชื้อชาติ อื่น ๆ ตัวแปรด้านจิตสังคม :- บุคลิกภาพ สถานภาพกลุ่ม ฐานะทางสังคม ผู้ร่วมงาน - การรับรู้ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค - การรับรู้ถึงอุปสรรคต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรค การรับรู้ถึง : - โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค - ความรุนแรงของโรค การปฏิบัติตามคำแนะนำ เพื่อป้อง กันโรค การรับรู้ภาวะการคุกคามของโรค สิ่งชักนำให้มีการปฏิบัติ : - บทความหรือโฆษณาในวารสารหนังสือพิมพ์ สื่อมวลชน - แพทย์และเจ้าหน้าที่สุขภาพ - บุคคลอื่น ๆ - สมาชิกในครอบครัวและเพื่อนที่เคยเจ็บป่วยมาแล้ว
สร้างการรับรู้ • ให้สิ่งของ • ข้อมูลข่าวสาร • ให้กำลังใจ • กระตุ้นเตือน ให้ความรู้ สนับสนุนทางสังคม ให้การปรึกษา
2. การเชื่อในความสามารถของตน (Self-Efficacy) 2.1 การรับรู้ความสามารถตนเองคือการที่บุคคลเชื่อว่าตนเองสามารถกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ 2.2 ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการปฏิบัติ คือการที่บุคคลมีความคาดหวังในผลลัพธ์ ที่สืบเนื่องจากการกระทำ
บุคคล พฤติกรรม ผลลัพธ์ Efficacy Expectation Efficacy Expectation
แหล่งของความคาดหวังในความเชื่อความสามารถของตนแหล่งของความคาดหวังในความเชื่อความสามารถของตน • ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ (Performance Accomplishments) • .การใช้ตัวแบบ (Vicarious Experience) • .การชักจูง (Verbal Persuasion) • .การกระตุ้นทางอารมณ์(Emotional Arousal)
การพัฒนาพฤติกรรม • ให้ความรู้ / พูดชักจูง • ฝึกปฏิบัติ • ตัวแบบ • สนับสนุนทางสังคม
การวัด • ความรู้ • ความคาดหวัง • - ความสามารถ • - ผลลัพธ์
Social Support การสนับสนุนทางสังคมหมายถึง สิ่งที่ “ผู้รับการสนับสนุน” ได้รับความช่วยเหลือด้านข้อมูลข่าวสาร วัสดุ สิ่งของ หรือด้านจิตใจ จาก “ผู้ให้การสนับสนุน” แล้วมีผลทำให้ผู้รับการสนับสนุนปฏิบัติตามที่ผู้ให้การสนับสนุนต้องการ
องค์ประกอบของSocial Support (House) • Information Support • Appraisal Support • Instrumental Support • Emotional Support
หลักการของการสนับสนุนทางสังคม(บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ์, 2530) ประกอบด้วย • 1. จะต้องมีการติดต่อสื่อสารระหว่าง “ผู้ให้” และ “ผู้รับ” การสนับสนุน • 2. ลักษณะของการติดต่อสื่อสารนั้นจะต้องประกอบไปด้วย • 2. 1 ข้อมูลข่าวสารมีลักษณะที่ “ผู้รับ” เชื่อว่ามีคนสนใจ เอาใจใส่ และมีความรักความหวังดีในตนอย่างจริงใจ • 2.2 ข้อมูลข่าวสารมีลักษณะที่ “ผู้รับ” รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และเป็นที่ ยอมรับในสังคม
หลักการของการสนับสนุนทางสังคม(บุญเยี่ยม ตระกูลวงษ์, 2530) ประกอบด้วย • 2.3 ข้อมูลข่าวสารมีลักษณะที่ “ผู้รับ” เราเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสามารถทำประโยชน์แก่สังคมได้ • 3. ปัจจัยนำเข้าของการสนับสนุนอาจอยู่ในรูปข้อมูลข่าวสาร วัสดุ สิ่งของ หรือจิตใจ • 4. จะต้องช่วยให้ “ผู้รับ” ได้บรรลุถึงจุดหมายที่ต้องการ
Transtheoretical Model (Stages of Change) ผู้พัฒนา Model : Prochaska และ Di Clemeter แนวคิด : การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนมีระยะความพร้อมที่ จะเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจึงต้องใช้กระบวนการจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลายวิธีการตามระยะเวลา ในการเปลี่ยนพฤติกรรม
กิจกรรม • เพิ่มความตระหนัก โดยการให้ข้อมูลความเสี่ยง และประโยชน์ของการเปลี่ยนพฤติกรรม • การจูงใจ การสนับสนุน • ให้มีการวางแผนที่จะปฏิบัติกำหนดเป้าหมาย • ให้มีการสะท้อนการปฏิบัติ การแก้ปัญหา การสนับสนุนทางสังคม การเสริมแรง ให้กำลังใจ • ให้กำหนดทางเลือกที่เหมาะสม และมั่นคง การป้องกันการกลับไป การป้องกันการกลับไปมีพฤติกรรมเดิม สภาวะความพร้อม Pre-contemplation Contemplation .Decision / Determination .Action . Maintenance