170 likes | 332 Views
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันอาการปวดหลังจากการทำงาน ของเจ้าหน้าที่ในทีมนำทางคลินิกศัลยกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์. โดย CLT Surg. ปัญหา. @ อาการปวดหลังส่วนล่างเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญและเป็นปัญหาที่พบบ่อย ที่สุดของโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง
E N D
โครงการสร้างเสริมสุขภาพโครงการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันอาการปวดหลังจากการทำงาน ของเจ้าหน้าที่ในทีมนำทางคลินิกศัลยกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยCLT Surg
ปัญหา @อาการปวดหลังส่วนล่างเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญและเป็นปัญหาที่พบบ่อย ที่สุดของโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง @สภาพการทำงานที่เสี่ยงเนื่องจากต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยขึ้นลงเตียงบ่อยครั้ง เช่น จากหอผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด รับผู้ป่วยลงจากห้องผ่าตัด ส่งผู้ป่วยไปตรวจพิเศษ ยก เครื่องมือผ่าตัด การช่วยแพทย์ ยืน นั่ง ผ่าตัดเป็นเวลานาน เป็นต้น @ปี พ.ศ.2553 มีเจ้าหน้าที่ในทีมนำทางคลินิกศัลยกรรมเข้ารับการรักษาด้วย อาการปวดหลังและได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทจำนวน 3 ราย ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความชุกและระดับความรุนแรงของอาการปวดหลังของเจ้าหน้าที่ใน CLT Surg 2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านบุคคล ลักษณะงาน และสิ่งแวดล้อมในการ ทำงานกับอาการปวดหลังของเจ้าหน้าที่ใน CLT Surg 3.เพื่อคัดกรองเจ้าหน้าที่ใน CLT Surgที่มีอาการปวดหลังและส่งเข้ารับการ ตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม 4.เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพสามารถนำข้อมูลมาจัดลำดับความสำคัญและ ดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับสภาพการณ์จริงที่เกิดขึ้นได้ 5.ลดอาการปวดหลังของเจ้าหน้าที่ในทีมนำทางคลินิกศัลยกรรม
กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ในทีมนำทางคลินิกศัลยกรรมจำนวน 170 คน
ผลการดำเนินงาน • ความชุก อัตราความชุกของโรค = จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ที่จุดเวลาที่กำหนดx 100 ที่จุดเวลาที่กำหนด จำนวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น หน่วย = จำนวนต่อประชากร 100 คน ที่จุดเวลาที่กำหนด อัตราความชุกของอาการปวดหลังในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา = 108 x 100 135 = 80 ต่อประชากร 100 คน
ผลการดำเนินงาน • ระดับความรุนแรงของอาการปวดหลัง หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย = 4.6 หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง = 4.9 หอผู้ป่วยวิกฤต 4 = 4.8 ห้องผ่าตัดศัลยกรรม = 4 ห้องตรวจโรคศัลยกรรม = 4.3 เฉลี่ย 4.5
ผลการดำเนินงาน • เจ้าหน้าที่ตอบแบบสอบถามคัดกรองจำนวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 80 แบ่งเป็น 4 กลุ่ม 1. ผู้ที่ไม่มีอาการปวดหลัง 27 คน 2. ผู้ที่เคยปวดหลังไม่มีอาการร่วม 34 คน 3. เคยปวดหลังและมีอาการร่วม 11 คน 4. ปัจจุบันปวดหลังไม่มีอาการร่วม 32 คน 5. ปัจจุบันปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน
ผลการดำเนินงาน กลุ่มที่ปัจจุบันปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน - ได้รับการตรวจเพิ่มเติมจากแพทย์ 22 คน - ที่เหลือ 9 คนไม่มาเนื่องจากไม่ปวดหลังแล้ว
ผลการดำเนินงาน กลุ่มที่ปัจจุบันปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน ได้รับการตรวจเพิ่มเติมจากแพทย์ 22 คน ผลการตรวจพบว่า ตรวจร่างกายปกติ 2 คน เป็นโรคเดิม 2 คน Imp : LBP, muscle pain 6 คน Film เพิ่ม12 คน ปกติ 6 คน ผิดปกติ 6 คน
ผลการดำเนินงาน ผู้ที่พยาธิสภาพให้ยาตามอาการ เชื่อมโยงกองเวชศาสตร์ฟื้นฟูทำ PM&R และสอนกายบริหาร ให้แผ่นพับ ติดตามอาการปวดหลังให้การดูแล 1 เดือนเจ้าหน้าที่มีอาการปวดดีขึ้น
กลุ่มที่ปัจจุบันปวดหลังไม่มีอาการร่วม 32 คน • ให้คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเป็นโรคปวดหลังส่วนล่าง
กลุ่มที่เหลือ ผู้ที่ไม่มีอาการปวดหลัง 27 คน ผู้ที่เคยปวดหลังไม่มีอาการร่วม 34 คน เคยปวดหลังและมีอาการร่วม 11 คน เฝ้าระวังและประเมินอาการปวดหลังทุก 6 เดือน เชื่อมโยงกับกลุ่มงาน เวชศาสตร์ฟื้นฟูมาให้ความรู้เรื่องการทำงานที่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์
Thank you for your attention