1 / 52

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด. CP.ENGINEERING. คู่มือการใช้งาน. INTELLIGENT PACKER. NOMURA NP-115SLK. www.cpe.co.th. 1. INTELLIGENT PACKER. NOMURA NP-115SLK. 2. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด. 3. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด. NOMURA.

fuller
Download Presentation

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING คู่มือการใช้งาน INTELLIGENT PACKER NOMURA NP-115SLK www.cpe.co.th

  2. 1 INTELLIGENTPACKER NOMURA NP-115SLK

  3. 2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด

  4. 3 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด NOMURA เครื่องชั่งและบรรจุอัตโนมัติ NOMURA เป็นเครื่องจักรสำหรับการบรรจุสินค้าจำพวกเมล็ดต่าง ๆ เช่น ข้าว , ถั่ว , น้ำตาล และอื่น ๆ ลงในถุงพลาสติก ซึ่งจะขึ้นรูปมาจากฟิล์มพลาสติกแบบท่อ (Tubular plastic film)โดยสามารถใช้กับพลาสติกชนิดต่าง ๆ เช่น Polyethylene , Laminated , Aluminium Laminated ,Breathable sealing bag เป็นต้น โดยมีระบบควบคุมการทำงานอัตโนมัติเต็มรูปแบบ (Fully automatic)

  5. 4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด คุณลักษณะของเครื่อง 1. ใช้งานง่าย เพราะมีระบบควบคุมและปรับตัวเอง (Self Adjustment) อัตโนมัติ และมีการจัดฟังก์ชั่นการทำงานเป็นระบบ 2. มีฟังก์ชั่นพิเศษ เพื่อปรับให้เหมาะสมกับการใช้งานต่าง ๆ - การหลีกเลี่ยงการตรวจจับลวดลายบนฟิล์มถุง - การใช้งานกับฟิล์มถุงที่ไม่มีแถบดำ (Registration Mark) - การตั้งปริมาณการผลิตและหยุดเครื่องอัตโนมัติ 3. จอแสดงผลสามารถแสดงค่าน้ำหนัก , จำนวนถุงและน้ำหนักสะสม 4. สามารถตั้ง / เลือกโปรแกรม ให้เหมาะสมกับการใช้งานหลายรูปแบบ 5. ในกรณีที่เกิดปัญหา จะมีการแสดงสาเหตุและตำแหน่งของปัญหา 6. ชิ้นส่วนสัมผัสข้าวเป็น Food Grade ถูกสุขลักษณะ 7. ใช้ชุดใส่ม้วนฟิล์ม แบบไร้เพลาทำให้เปลี่ยนม้วนฟิล์มได้ง่าย ด้วยระบบ One-touch พร้อมระบบปรับหาตำแหน่งกึ่งกลางอัตโนมัติ 8. ใช้วัสดุที่แข็งแรงทนทาน และไม่มีการรั่วไหลของน้ำมัน

  6. 5 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด ข้อมูลจำเพาะของเครื่องจักร

  7. 6 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Packing Indicator Operation setting key Sheet key Setting item key Valve Setting key Operation key

  8. 7 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Operation keys 1. Run ปุ่มเริ่มการทำงานของเครื่อง 2. Continuous/Single Operation ปุ่มเปลี่ยนการทำงานระหว่างเดินเครื่องต่อเนื่องกับเดินเครื่องเป็นจังหวะ (ไฟติดจะเป็นการเดินแบบต่อเนื่อง) 3. Stop ปุ่มหยุดการทำงานของเครื่อง 1 2 3

  9. 8 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Value setting keys 1. ปุ่มเลื่อนตำแหน่งเวลาป้อนค่า 2. Change ปุ่มสำหรับใช้ในการที่จะเปลี่ยนแปลงค่าที่เราจะป้อน 3. Record ปุ่มเก็บค่าที่เราป้อน 4. ปุ่มที่ป้อนให้เป็นค่า + หรือ - (ใช้ตอนตั้งระยะตัวรับถุง) 5. Reset ปุ่มใช้สำหรับกลับไปใช้ค่าก่อนหน้าเมื่อมี ความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูล และใช้หยุดการทำงานของ Buzzer 6. ปุ่มตัวเลข 0-9 1 2 3 4 5 6

  10. 9 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Setting item keys 5 1.Receiving Table Position ปุ่มกำหนด ตำแหน่งตัวรับถุงข้าว 2. Product Count ปุ่มสำหรับใช้ในตั้งจำนวนที่ จะผลิต ถ้าผลิตได้ตามที่ตั้งค่าเอาไว้เครื่องก็จะหยุดทำงาน ถ้าจะให้เครื่องทำงานแบบต่อเนื่องให้ตั้งค่าเป็น 0 3. Weighing Value ปุ่มป้อนค่าน้ำหนัก 4. Cut Position ปุ่มตั้งระยะตัดถุง (หน่วย mm.) 5. Print Position ปุ่มตั้งระยะพิมพ์ถุง (หน่วย mm.) 6. Mark Sync Length ปุ่มกำหนดระยะกำหนด ช่วงการทำงานของ Sensor จับ Mark (หน่วย mm.) ** ถ้าอยู่ในโหมด Plain Bag Operation (ถุงที่ ไม่มี Mark) จะเป็นการกำหนดความยาวของถุง (หน่วย mm.) 2 1 3 4 6 7 9 10 12 11 8

  11. 10 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 5 7.Upper Seal Heating ปุ่มกำหนดเวลาการ ทำงานของ Heater ปากถุง (หน่วย วินาที) 8. Lower Seal Heating ปุ่มกำหนดเวลาการ ทำงานของ Heater ก้นถุง (หน่วย วินาที) 9. Film Size ปุ่มกำหนดระยะความยาวของถุง 10. Upper Seal Cooling ปุ่มกำหนดเวลาการ Cooling ของปากถุง (หน่วย วินาที) 11. Lower Seal Cooling ปุ่มกำหนดเวลาการ Cooling ของก้นถุง (หน่วย วินาที) 12. Not Used 2 1 3 4 6 7 9 10 12 11 8

  12. 11 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Sheet keys Total Count 1. Zero Reset ปุ่มเปลี่ยนให้ค่าเป็น 0 2. Weight/Product Count ปุ่มเลือกการ ทำงานของหน้าจอว่าจะให้แสดงค่าน้ำหนักรวมหรือว่า จำนวนที่ผลิตรวม Bag Former กำหนดระยะปากถุง 3. Backward ปุ่มเลื่อนระยะของ Bag Former เข้า 4. Forward ปุ่มเลื่อนระยะของ Bag Former เลื่อนออก 1 2 3 4

  13. 12 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Operation setting keys 11 2 4 6 8 1 3 5 7 9 10 1.Preheat ซีลปากถุง และ ซีลก้นถุงจะทำงาน เพื่อทำให้บาร์ซีลเข้าสู่อุณหภูมิการทำงาน 2. Dummy Run ปุ่มให้เครื่องทำงานตัวเปล่าโดยไม่มีถุง 3. Mark Sensor Sync ปุ่มใช้เมื่อถุงที่นำมาบรรจุมีลวดลายระหว่างถุง เพื่อกำหนดระยะ จับ Mark ของ Sensor เพื่อให้ Sensorไม่ทำงานในช่วงที่มีลวดลาย ** ป้อนระยะช่วงที่ให้อ่านข้ามที่ปุ่ม Mark Sync Length (หน่วย mm.) 4. Light ON/Dark ON ปุ่มกำหนดการจับ Mark ของ Sensor เพื่อให้ Sensor จับ สีเข้มหรือสีอ่อน (ไฟติดจะเป็น Light ON ไฟไม่ติดจะเป็น Dark ON)

  14. 13 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 11 2 4 6 8 1 3 5 7 9 10 5.Plain Bag Operation ปุ่มใช้เมื่อถุงที่นำมาบรรจุไม่มี Mark ** กำหนดระยะความยาวของถุงที่ปุ่ม Mark Sync Length (หน่วย mm.) 6. Printer ปุ่มกำหนดการทำงานตัวพิมพ์ถุง 7. Hole Puncher (Option) ปุ่มกำหนดการทำงานตัวเจาะถุง 8. External Interlock ปุ่มกำหนดการต่อพ่วงกับอุปกรณ์ภายนอก 9. Remote/Local (Option) ปุ่มควบคุมระยะไกล หรือควบคุมหน้าเครื่อง 10. OP1/OP2/OP3 (Not Used) 11. Forced Discharge ปุ่มปล่อยข้าวออกจากถัง ** ใช้งานร่วมกับปุ่ม Remainder ที่หัวชั่ง

  15. 14 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด การตั้งค่าของระบบแพ็คกิ้ง 1. Product Count -ใช้ในการตั้งจำนวนถุงที่ต้องการให้เครื่องทำงานแต่ถ้าตั้งค่าเป็น 0000 เครื่องจะทำงานต่อเนื่อง ตัวอย่าง ตั้งค่า Product count = 250 ถุง 2. Weighing value -ใช้ในการตั้งค่าน้ำหนักที่ต้องการจะชั่ง ให้แก่เครื่องชั่งทั้งสองตัวพร้อมๆกัน ตัวอย่าง ตั้งค่า Weighing value = 10.005 kg

  16. 15 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Film size

  17. 16 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 3. Film size(ความยาวถุง/ระยะต่างๆ) สำหรับถุงที่มีมาร์ก เครื่องจะอ่านความยาวถุงได้เองอัตโนมัติเมื่อมีการเปลี่ยนม้วนถุงใหม่ F : Film size :ความยาวถุง M : Mark sync length C : Cut position P : Print position 4. Mark sync length(ระยะเว้นลายถุง) - เป็นการตั้งระยะเพื่อข้ามลวดลายบนถุง เพื่อป้องกันไม่ให้รบกวนการทำงานของเซ็นเซอร์ - โดยทั่วไปมักจะตั้งค่าต่ำกว่าความยาวถุงประมาณ 70 มม. ตัวอย่าง ตั้งค่า Mark sync length = 400 มม.

  18. 17 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 5. Cut position (ระยะตัดถุง) -เป็นระยะจากมาร์กไปยังแนวตัดถุง ตัวอย่าง Cut position = 30 มม. 6. Print position(ระยะพิมพ์) -เป็นระยะจากแนวตัดไปยังจุดที่จะทำการพิมพ์วันที่/ราคา ตัวอย่าง ตั้งค่า Print position = 270 มม.

  19. 18 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 7. Receiving table position (ตำแหน่งตัวรับถุงข้าว) ตัวอย่าง ตั้งค่า Receiving table position = +10 8. Upper sealing heating/Lower sealing heating -ตั้งเวลาการซีลของซีลปากถุง (upper) หรือ ก้นถุง (lower) ตัวอย่าง Upper seal heating = 0.35 วินาที

  20. 19 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 9. Upper seal cooling /Lower seal cooling -ตั้งเวลาการพักตัวของการซีลปากถุง (upper) หรือ ก้นถุง (lower) ตัวอย่างUpper seal cooling = 0.25 วินาที

  21. 20 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Weight Indicator Sequence Display Operation key One-Touch key Operation key

  22. 21 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Setting keys 5 1. Large Flow ปุ่มหมายเลข 1 ในโหมด Setting Value** ปุ่ม Large Flow ในโหมด Calibration 2. Medium Flow ปุ่มหมายเลข 2 ในโหมด Setting Value** ปุ่ม Medium Flow ในโหมด Calibration 3. Small Flow ปุ่มหมายเลข 3 ในโหมด Setting Value** ปุ่ม Small Flow ในโหมด Calibration 4. Weighing Value ปุ่มหมายเลข 4 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Weighing Value ใช้ป้อนค่า น้ำหนักในโหมด Calibration 5. Shortage ปุ่มหมายเลข 5 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Shortage ใช้ป้อนค่าน้ำหนักขาดที่ยอมรับได้ใน โหมด Calibration 2 3 1 4 6 9 7 10 12 11 8

  23. 22 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 5 6. Excess ปุ่มหมายเลข 6 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Excess ใช้ป้อนค่าน้ำหนักเกินที่ยอมรับได้ในโหมด Calibration 7. Near Zero ปุ่มหมายเลข 7 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Near Zero ใช้ป้อนค่าน้ำหนักโดยไม่ต้องรอ ให้ถังชั่งมีค่าน้ำหนักเป็นศูนย์ ก็สามารถทำการชั่งรอบใหม่ ต่อไปได้เลยในโหมด Calibration 8. Timer ปุ่มหมายเลข 8 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Timer ใช้ป้อนค่าเวลาในโหมด Calibration 9. Span ปุ่มหมายเลข 9 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Span ใช้ป้อนค่าน้ำหนักของน้ำหนักสอบเทียบใน โหมด Calibration 2 3 1 4 6 9 7 10 12 11 8

  24. 23 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 5 10. Setting Mode ปุ่มใช้ในการเปลี่ยนแปลงค่าการทำงาน 11. Zero ปุ่มหมายเลข 0 ในโหมด Setting Value ** ปุ่ม Zeroใช้ตั้งหน้าจอให้เป็นศูนย์ 12. Change/Register ปุ่มใช้ในการเปลี่ยนค่าตั้งไว้และบันทึกค่าที่ตั้งไว้ 2 3 1 4 6 9 7 10 12 11 8

  25. 24 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด Operation keys 1. Run/Stop ปุ่มเริ่มการทำงานหรือหยุดการทำงาน ของหัวชั่ง 2. Remainder ปุ่มใช้เพื่อเอาข้าวที่เหลือออกจากถัง ชั่ง ** ใช้งานร่วมกับปุ่ม Forced Discharge 3. Tare Reduction กดปุ่มให้ไฟสีเขียวติด เมื่อ ทำการชั่งน้ำหนักครั้งต่อไป หัวชั่งจะทำการ Reset ตัวเอง เป็นศูนย์ แล้วจึงทำการชั่งครั้งต่อไป 4. Count/Clear ปุ่มตั้งจำนวนนับ ลบจำนวนนับ 5. Power ON/OFF ปุ่มใช้ในการปิด เปิดหัวชั่ง 1 2 3 4 5

  26. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING คู่มือการใช้งานหัวชั่งและการใส่ม้วนถุง AUTOMATIC WEIGHER NOMURA NP-115SLK www.cpe.co.th

  27. 1 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด การตั้งค่าการทำงานของการชั่ง 1. Large flow, Medium flow, Small flow ปรับการทำงานของประตูป้อนข้าว ซึ่งมี 3 จังหวะ คือ Large flow =ป้อนมาก , Medium flow = ป้อนกลาง, Small flow = ป้อนน้อย ค่าที่ตั้งจะเป็นการสั่งหยุด การป้อน เช่นถ้า ตั้ง Large flow= 1.700 kg จะหมายความว่า ประตูป้อน มากจะหยุดทำงานก่อนค่าน้ำหนักเป้าหมาย 1.700 kg เป็นต้น และจะตั้งค่าดังนี้ [Largeflow][Change][0][1][7][0][0][Register] 2. Weighing value ค่าน้ำหนักเป้าหมาย/นน.ที่ต้องการจะชั่ง เช่นถ้าต้องการ Weighing value=2.005kg ก็สามารถตั้งค่าได้ดังนี้ [Weighing value][Change][0][2][0][0][5][Register] ตามปกติ จะไม่ใช้วิธีนี้เพราะสามารถตั้งค่าผ่าน แผงควบคุมการบรรจุ ได้สะดวกกว่า

  28. 2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 3. Shortage (น้ำหนักขาด) และ Excess (น้ำหนักเกิน) เป็นการตั้งค่าส่วนขาดหรือเกินที่จะยอมรับได้ ถ้าขาดหรือเกินมากกว่าค่าที่ตั้งเอาไว้เครื่องชั่งจะเกิด อะลาร์มและไม่ปล่อยข้าวลงถุง การตั้งค่า เช่นต้องการ นน.เกินไม่มากกว่า 10 กรัม ให้ทำดังนี้ [Excess][Change][0][0][0][1][0][Register] 4. Near Zero(ค่าใกล้ศูนย์) เป็นค่าที่จะให้เครื่องชั่งเริ่มการทำงานในรอบต่อไป ก่อนที่ค่าน้ำหนักหลังถ่ายข้าวออกจะลดลงจนเป็น ศูนย์จริงๆ เพื่อให้สามารถชั่งได้รวดเร็ว เช่นถ้าตั้งค่าเป็น 5 กรัม จะต้องทำดังนี้ [Near Zero][Change][0][0][0][0][5][Register]

  29. 3 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 5. Timer setting (การตั้งเวลา) เป็นการตั้งเวลาหน่วงก่อนจะอ่านและตัดสินค่าน้ำหนักหลังจากการชั่งป้อนข้าวถึงจุด Large flow ,Medium flow และ Small flow เช่นต้องการตั้งเวลา เท่ากับ 0.8 วินาที จะต้องทำ ดังนี้ [Timer][Change][0][8][Register] การใส่ม้วนฟิล์ม 1. แผงควบคุมการใส่ม้วนฟิลม์ [UP] ใช้เลื่อนแท่นวางม้วนฟิล์มขึ้น [DOWN] ใช้เลื่อนแท่นวางม้วนฟิล์มลง [LOCK] ใช้ล็อคเขี้ยวตัวล็อคแกนฟิล์ม

  30. 4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 2. แผงควบคุมการเปลี่ยนม้วนฟิลม์

  31. 5 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด ขั้นตอนการเปลี่ยนม้วนถุงใหม่ Mold Change Mold Change Run Film Forward Bobbin Replace Bobbin Replace เลื่อนถุงจนให้ระยะ Markใกล้กับตำแหน่ง Sensor เปลี่ยนชนิดถุงใหม่ โดยต้องตั้งค่าระยะต่าง ๆ ใหม่ Mold Change Bobbin Replace เปลี่ยนม้วนถุงใหม่ โดยระยะต่าง ๆ ยังเหมือนเดิม

  32. 6 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 3. การเปลี่ยนม้วนใหม่ลายใหม่ 1. จะต้องกำหนดค่าต่างๆที่เกี่ยวข้องเช่น weighing Value , Cut position , Print position เป็นต้น 2. กด [RUN] จากนั้นกด [Mold Change] 3. หลอดไฟกระพริบ ,ระบบทำถุงเลื่อนมาด้านหลัง , มาร์กเซ็นเซอร์เลื่อนกลับจุดเดิม จากนั้น ลูกยางหมุนกลับเพื่อคืนฟิลม์ที่ค้างออกมาจากเครื่อง , ให้เอาม้วนฟิลม์เดิมออกจากเครื่อง 4. ใส่ฟิลม์ม้วนใหม่เข้าไป ตามรูปแบบของเครื่อง จากนั้นกด [Film Forward] เพื่อป้อนฟิลม์เข้าไปในลูกยาง โดยกะระยะให้มาร์กบนถุงห่างจากเซ็นเซอร์ ประมาณ 100มม. 5. กด [Mold Change] ,มาร์กเซ็นเซอร์จะเลื่อนเข้ามาหาฟิลม์ ในช่วงนี้จะใช้สวิทช์ “Sensor Position” เพื่อปรับตำแหน่งของมาร์กเซ็นเซอร์ได้ จากนั้นระบบทำถุงจะทำการตรวจสอบระยะถุงอัตโนมัติ

  33. 7 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด 4. การเปลี่ยนม้วนใหม่,ลายเดิม 1. กด [RUN] จากนั้นกด [Bobbin Replace] 2. หลอดไฟกระพริบ ,ระบบทำถุงเลื่อนมาด้านหลัง , มาร์กเซ็นเซอร์เลื่อนกลับจุดเดิม จากนั้น ลูกยางหมุนกลับเพื่อคืนฟิลม์ที่ค้างออกมาจากเครื่อง , ให้เอาม้วนฟิลม์เดิมออกจากเครื่อง 3. ใส่ฟิลม์ม้วนใหม่เข้าไป ตามรูปแบบของเครื่อง จากนั้นกด [Film Forward] เพื่อป้อนฟิลม์เข้าไปในลูกยาง โดยให้ปลายถุงมาจนถึงใบมีด 4. กด [Bobbin Replace] ,มาร์กเซ็นเซอร์จะเลื่อนเข้ามาหาฟิลม์ ในช่วงนี้จะใช้สวิทช์ “Sensor Position” เพื่อปรับตำแหน่งของมาร์กเซ็นเซอร์ได้ จากนั้นระบบทำถุงจะทำการตรวจสอบระยะถุงอัตโนมัติ

  34. 8 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด ขั้นตอนการ Span calibration และ Zero calibration 1. ทำ Unlock ค่า [Setting mode] [Change] [0] [3] [Register] [5] [Change] [0] [Register] 2. จากนั้นทำ Zero ค่า [Setting mode] [Change] [0] [2] [Register] ต้องแน่ใจว่าในถังชั่งไม่มีข้าวจากนั้นกด [0 Zero] [Register] 3. จากนั้นเอาตุ้มน้ำหนักมาตราฐานวางที่ Weighing hopper แล้วกด [9 Span] [Register]

  35. 9 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด • 4. จากนั้นเอาตุ้มน้ำหนักมาตราฐานออกจาก Weighing hopper • 5. จากนั้นทำ Zero ค่าอีกครั้ง • [0 Zero] [Register] • 6. จากนั้นเอาตุ้มน้ำหนักมาตราฐานวางที่ weighing hopper เพื่อทดสอบค่าน้ำหนักที่ • Calibrate ว่าตรงหรือเปล่า ถ้าไม่ตรงให้ทำการ Calibrate อีกครั้ง • - เอาตุ้มน้ำหนักมาตราฐานวางที่ Weighing hopper ว่าค่าตรงกับตุ้มน้ำหนักหรือไม่ • เอาตุ้มน้ำหนักมาตราฐานออกจาก Weighing hopper ว่าค่าน้ำหนักเป็น 0 หรือไม่ • 7. จากนั้นทำการ lock ค่า • [Setting mode] [Change] [0] [3] [Register] [5] • [Change] [1] [Register]

  36. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING คู่มือการใช้งาน Sensor E3X-DAC11-S Vacuum Sensor AP-31P Inverter FR-A024-0.75K www.cpe.co.th

  37. 1 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด SENSOR ตรวจจับความเข้ม การSet แบบ2จุด 1.เลื่อนสวิตซ์มาที่ตำแหน่งSet 2.เลื่อนมาร์คมาที่จุดSensor 3.กดปุ่มUpหรือDown ค้างไว้1วินาที จะมี คำว่าTechแสดงขึ้น 4.เลื่อนถุงไปในตำแหน่งที่ไม่ใช่มาร์ค แล้วกดปุ่มDown ค้าง1 วินาที 5.เลื่อนสวิตซ์มาที่ตำแหน่ง Run จบกระบวนการ

  38. 2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด SENSOR ตรวจจับความเข้ม การSetแบบ1จุด 1.เลื่อนสวิตซ์มาที่ตำแหน่งSet 2.เลื่อนถุงที่ไม่ใช่ตำแหน่งมาร์คมาที่จุดรับSensor 3.กดUp หรือDown ค้างไว้ 1 วินาที จะมีคำว่า Tech แสดงขึ้น 4.นำถุงออกจากจุดรับSensor แล้วกดปุ่มDown ค้างไว้ 3 วินาที 5.เลื่อนสวิตซ์มาที่ตำแหน่ง Run จบกระบวนการ

  39. 3 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด VACCUUM SENSOR

  40. 4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด INVERTER FR-A024-0.75K INPUT: 8.2A 3PH AC200-230V 50HZ 3PH AC200-230V 60HZ OUTPUT:1HP 5A 3PH MAX AC200-230V

  41. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING PARTS LIST INTELLIGENT PACKER NOMURA NP-115SLK www.cpe.co.th

  42. 1 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด ขนาดของเครื่องจักร

  43. 2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด รูปด้านหน้า 1. Dividing chute 2. Left scale 3. Right scale 4. Left weight indicator 5. Right weight indicator 6. Packing indicator 7. Front safety cover 8. Suction opening 9. Receiving table

  44. 3 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด รูปด้านขวา 1. Dividing chute 2. Control panel 3. Right rear cover 4. Pressure gauge 5. Bobbin clamp handle 6. Air cock 7. Right lower cover 8. Inspection window 9. Right upper cover 10. Right weighing scale 11. Right weighing scale compartment door

  45. 4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด รูปด้านซ้าย 1. Dividing chute 2. Left weighing scale 3. Left weighing scale compartment door 4. Left upper cover 5. Left lower cover 6. Inspection window 7. Shaftless control panel cover 8. Bobbin clamp disk 9. Center adjustment knob 10. Left rear cover

  46. 5 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด รูปด้านหลัง 1. Dividing chute 2. Contol panel door 3. Inverter inspection window 4. Spot control panel 5. Printer 6. Shaftless contol panel 7. Bobbin clamp panel 8. Lifter 9. Bobbin chuck 10. Bobbin clamp handle 11. Printer control panel 12. Solenoid valve compartment 13. Power supply switch

  47. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING SPARE PART INTELLIGENT PACKER NOMURA NP-115SLK www.cpe.co.th

  48. 1 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด SPARE PART รหัสอะไหล่ 1.เส้นลวดความร้อน (Heater) = 5 เส้น 12028309017 2.เทปล่อนม้วน = 1 ม้วน 12036040009 3.เทปล่อนแผ่น ขนาด 410x600 = 2 แผ่น 12036040001 4.แท่งพลาสติกช่วยเปิดถุง = 3 แท่ง 5.แผ่นเหล็กสำหรับคาลิเบทเครื่องชั่ง = 1 แผ่น 6.ยางดูดเปิดปากถุง = 4 ชิ้น 12037100104 7.ตัวอักษร = 2 กล่อง 8.ยางซิลิโคนรูปตัวไอ = 2 เส้น 12069405313 9.ฟิวส์ 1แอมป์ 125โวลล์ ขนาด 20มิล = 2 อัน 10.ฟิวส์ 0.5แอมป์ ขนาด 20มิล = 1 อัน

  49. 2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด SPARE PART 11.ฟิวส์ 1แอมป์ 250โวลล์ ขนาด 30มิลลิเมตร = 1 อัน 12.ฟิวส์ 2แอมป์ 250โวลล์ ขนาด 30มิลลิเมตร = 1 อัน 13.ฟิวส์ 3แอมป์ 250โวลล์ ขนาด 30มิลลิเมตร = 1 อัน 14.ฟิวส์10แอมป์ 250โวลล์ ขนาด 30มิลลิเมตร = 2 อัน 15.คู่มือการใช้งานของเครื่องแพ็ค = 1 ชุด

  50. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด CP.ENGINEERING MAINTENANCE INTELLIGENT PACKER NOMURA NP-115SLK www.cpe.co.th

More Related