420 likes | 1.03k Views
การนำองค์กร. I-1 การนำ (LED). I-1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง ( Senior Leadership). ก.วิสัยทัศน์และค่านิยม. ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร. 1. 1. กำหนด พันธ กิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ถ่ายทอด ปฏิบัติให้เห็นความมุ่งมั่น. การสื่อสาร ให้อำนาจตัดสินใจ จูงใจ ยกย่องชมเชย.
E N D
I-1 การนำ (LED) I-1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (Senior Leadership) ก.วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร 1 1 กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ถ่ายทอด ปฏิบัติให้เห็นความมุ่งมั่น การสื่อสาร ให้อำนาจตัดสินใจ จูงใจ ยกย่องชมเชย จุดเน้นที่ปฏิบัติการ เพื่อปรับปรุงผลงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 2 สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริม การปฏิบัติตามกฎหมาย การมีจริยธรรมที่ดี 2 ทบทวนตัวชี้วัด การปฏิบัติ 3 สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศเอื้อต่อ การปรับปรุงผลงาน การบรรลุวัตถุประสงค์ การสร้างนวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้สัมพันธภาพ ความร่วมมือ การประสานบริการ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ผลงานที่ดีคุณภาพ ความปลอดภัยการมุ่งเน้นผู้ป่วย 4 สร้างและส่งเสริมวัฒนธรรม ความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย
I-1.2 การกำกับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม (Governance and Social Responsibility) ก.การกำกับดูแลกิจการ ข.กฎหมายและจริยธรรม 1 ระบบกำกับดูแลกิจการ ผู้บริหาร การเงิน โปร่งใส การตรวจสอบ ผลประโยชน์ กระบวนการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ความเสี่ยง ผลกระทบด้านลบ ความกังวลสาธารณะ 2 1 กฎหมายข้อบังคับ ประเมินผลงาน ผู้นำ ระบบการนำ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ผู้นำ ระบบการนำ 2 ติดตามกำกับ ส่งเสริมจริยธรรม ค. การสนับสนุนชุมชนและสุขภาพของชุมชน ดำเนินการ เมื่อฝ่าฝืน กำหนดชุมชน / ประเด็นสนับสนุน องค์กรที่มีคุณค่า ต่อสังคม สนับสนุนสร้างความเข้มแข็ง ดูแลสุขภาพของชุมชน
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลทั่วไประดับ S ขนาด 540 เตียง จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ย/วัน 916.94 ราย จำนวนผู้ป่วยในเฉลี่ย/วัน 112.52 ราย อัตราการครองเตียง 73.83 %
ความเชี่ยวชาญพิเศษขององค์กร • ด้านการดูแลรักษา/การผลิตบุคลากรทางการแพทย์ • เป็น Center of Excellence ทางด้านการดูแลผู้ป่วย STEMI Newborn และTrauma center • ระบบการแพทย์ฉุกเฉินดีเด่นในระดับเครือข่าย • เป็นศูนย์แพทย์ศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก ผลิตแพทย์ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สำคัญเป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ • ทิศทางการนำองค์กร ด้วยวิสัยทัศน์ • ประสิทธิภาพการสื่อสาร การสร้างสิ่งแวดล้อมและ บรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนา • การกำหนดนโยบาย/จุดเน้น • การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร • การกำกับดูแลกิจการ และความรับผิดชอบต่อสังคม
นำด้วยวิสัยทัศน์ Learning Organization Hospital Acreditation (2nd) องค์กรจริยธรรม (ปี 51-52-54) ปี 2552 - รพ.สายใยรักระดับทอง มาตรฐานการพยาบาล Hospital Acreditation(1st) รพ.สายใยรัก ระดับทอง (2nd) ปี 2554 HPH plus HWP / Healing Environment ปี 2548 มาตรฐาน HPH
โรงพยาบากาฬสินธุ์ K A L A S I N
ความหมาย วิสัยทัศน์ ปี 2556-2560 “เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และเข้มแข็งอย่างยั่งยืน” องค์กรแห่งการเรียนรู้ หมายถึง องค์กรที่มุ่งเน้นและจูงใจให้บุคลากรทุกคนมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อศักยภาพของตนเอง และองค์กร
เข้มแข็งอย่างยั่งยืน • หมายถึง องค์กรที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตัวเอง ถึงแม้จะมีกระแสการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีความเข้มแข็ง 4 ด้าน ดังนี้ • ความเข้มแข็งด้านบุคลากร (Man) บุคลากรโรงพยาบาลกาฬสินธุ์เป็นคนที่มีสมรรถนะในวิชาชีพ และได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • ความเข้มแข็งด้านการเงิน (Money) โรงพยาบาลกาฬสินธุ์มีการบริหารจัดการด้านการเงินที่มีประสิทธิภาพ มีระบบติดตามอย่างต่อเนื่อง และตัวชี้วัดประสิทธิผลทางการเงินไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ • ความเข้มแข็งด้านทรัพยากร (Material) โรงพยาบาลกาฬสินธุ์มีการบริหารจัดการด้านทรัพยากร และเครื่องมือที่เพียงพอ และพึ่งพาตนเองได้ • ความเข้มแข็งด้านการบริหารจัดการ (Management) โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ยึดการบริหารจัดการแบบธรรมภิบาล ภายใต้การจัดการที่มี คุณธรรม จริยธรรม
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ค่านิยมร่วม ( Share Value) “ K A L A S I N” K = Knowledge การใฝ่หาความรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ A = Achievement focus มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริการยึดผู้ป่วย in patient & customerเป็นศูนย์กลาง L = Leadership ความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผล A = Agility คล่องตัว ยืดหยุ่น ทันการเปลี่ยนแปลง S = Safety ยึดมั่นในความปลอดภัย I= Integrity มีจริยธรรม มั่นคงในคุณธรรม N = Network การทำงานเป็นทีม เครือข่าย
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ วัฒนธรรมองค์กร รากฐานสำคัญของความเป็นบุคลากร โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ที่ยึดถือปฏิบัติกันมา เป็นวัฒนธรรมองค์กร 2 ประการ S =Seniority - กัลยาณมิตร ความเป็นพี่เป็นน้อง T = Teamwork - การทำงานเป็นทีม
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มีการกำหนดนโยบายสำคัญและสื่อสารให้เจ้าหน้าที่รับทราบและปฏิบัติด้วยความเข้าใจ นโยบายบริหาร โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม การจัดการให้เกิดความเป็นธรรมภายในองค์กร ด้านบริหาร และบริการ สร้างขวัญกำลังใจ แก่บุคลากร ให้มีความสุขในการปฏิบัติงาน พัฒนาองค์กร สู่ความเป็นองค์กรเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ S3. พัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ S4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในระบบสุขภาพ S1.พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพมาตรฐาน S2.ระบบริหารแบบธรรมาภิบาลและระบบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ พัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ ปลอดภัยได้มาตรฐาน พัฒนาระบบ ลดระยะเวลาบริการโดยใช้แนวคิด Lean Management พัฒนาระบบบริหารแบบ ธรรมาภิบาล และประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากร ประเด็นยุทธศาสตร์ (SI ) เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ (๗ Goal) G1.ระบบบริการมีคุณภาพตามมาตรฐาน G2.ระบบบริการสุขภาพกลุ่มโรค 10 สาขา มีประสิทธิภาพ G3. ชุมชนเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเอง ด้านสุขภาพได้ G4. บุคลากรทางการแพทย์มีคุณภาพตาม มาตรฐานวิชาชีพ G5. พัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้G6. ระบบบริหารจัดการภายในองค์กรมี ประสิทธิภาพG7. ศูนย์การเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มีการกำหนดจุดเน้นที่ชัดเจนและสื่อสารให้เจ้าหน้าที่รับทราบ ปี 2555 1.พัฒนาคุณภาพบริการและความปลอดภัยของผู้ป่วย 2.พัฒนาระบบบริการเพื่อลดขั้นตอนระยะเวลาบริการ ปี 2556 1.พัฒนาระบบการจัดการความรู้ และศูนย์เรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2.พัฒนาระบบบริการเพื่อลดขั้นตอนระยะเวลาบริการ
โครงสร้างและการมอบหมายงานโครงสร้างและการมอบหมายงาน
โครงสร้าง/การมอบหมายงานชัดเจน โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและ empowerment - การมอบหมายหน้าที่ และกระจายความรับผิดชอบให้แก่ผู้นำในแต่ละระดับ สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ ในระบบธรรมาภิบาล
ทีมบริหาร โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ นพ. สมอาจ ตั้งเจริญ ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
นพ.ประมวล ไทยงามศิลป์ รองผู้อำนวยการ ฝ่ายผลิตบุคลากรทางการแพทย์ นพ.บรรพจน์ สุวรรณชาติ รองผู้อำนวยการ ฝ่ายการแพทย์ พญ.ทิวาวรรณ ปิยกุลมาลา รองผู้อำนวยการ ฝ่ายพัฒนาระบบบริการ และสนับสนุนบริการสุขภาพ
นพ.นพดล แข็งแรง รองผู้อำนวยการ ฝ่ายพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ นพ.เปตรง เขียนแม้น รองผู้อำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน นางเยาวภา ศิริขันธ์ รักษาการ รองผู้อำนวยการ ฝ่ายการพยาบาล นพ.กมล แพร่ประภา รองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการพิเศษ นายอุดร ผิวขาว รองผู้อำนวยการ ฝ่ายบริหาร
การกำกับดูแลองค์กร (governance system): • การลงนามปฏิบัติราชการทุกระดับ • การติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ • การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน • การกำกับดูจากส่วนราชการต้นสังกัด กระทรวงสาธารณสุข • การติดตามผลการปฏิบัติราชการระดับจังหวัด และ • ภาคประชาชน
การสื่อสารนโยบายและการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายการสื่อสารนโยบายและการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย • ประกาศนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร • จัดพิธีลงนามความร่วมมือการพัฒนางานกับภาคีเครือข่ายและองค์กร • ปกครองส่วนท้องถิ่น • มีการสื่อสารถ่ายทอด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และนโยบาย • การพัฒนาที่ชัดเจนผ่านสื่อประชาสัมพันธ์และการประชุม • การสื่อสาร 2 ทาง โดยการตรวจเยี่ยม /ให้กำลังใจ • เปิดทุกช่องทางความคิดเห็น จัดเวทีแลกเปลี่ยนพบเจ้าหน้าที่100%
การสื่อสารถ่ายทอดนโยบายกับผู้ปฏิบัติการสื่อสารถ่ายทอดนโยบายกับผู้ปฏิบัติ จัดประชุมผู้บริหารพบผู้ปฏิบัติทุกระดับ 100%
การติดตามประเมินผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าการพัฒนาระบบงานต่างๆ • ผลการเยี่ยมสำรวจจากองค์กรภายนอก • ผลการนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • ผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีละ 2 ครั้ง • การประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล • การประชุมคณะกรรมการทีมนำระดับโรงพยาบาลทุกเดือน
การส่งเสริมบรรยากาศ การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล Leadership Walk Round
ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสู่องค์กร แห่งการเรียนรู้ • จัดตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ • ประกาศนโยบายจัดการความรู้ เป็นลายลักษณ์อักษร • วางแผนการจัดการความรู้ดำเนินการทุกระดับ • กระตุ้นให้เกิดการทบทวนกิจกรรมต่างๆ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ในระดับบุคคล หน่วยงาน และระดับองค์กร • นำกลยุทธการจัดการความรู้มาแก้ไขปัญหาสาธารณสุข • และปัญหาตัวชี้วัดในองค์กรที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีเสวนา และ ถ่ายทอดความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล สู่บุคคล ส่งเสริมการจัด KM corner • จัดตั้งศูนย์การจัดการความรู้และการวิจัยเพื่อรวมองค์ความรู้ • ของ องค์กรเผยแพร่ ทาง Internet / Intranet
สร้างบรรยากาศและกระบวนการเรียนรู้สร้างบรรยากาศและกระบวนการเรียนรู้ แก่ทีมพัฒนาคุณภาพในองค์กร
การเรียนรู้หน้างานระหว่างทีมนำเฉพาะด้าน - หน่วยงาน
ส่งเสริมการ สร้างนวัตกรรม กิจกรรมคุณภาพ งานวิจัย