140 likes | 293 Views
“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทย กับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ”. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 12 ตุลาคม 2555. www.tanitsorat.com. ปี 2553. ปี 2558. ภาษี 0%. ลดภาษีตามลำดับ. ภาษี 0%. อาเซียน - 6. เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา.
E N D
“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน”“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 12 ตุลาคม 2555 www.tanitsorat.com
ปี 2553 ปี 2558 ภาษี 0% ลดภาษีตามลำดับ ภาษี 0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา เศรษฐกิจไทยภายใต้ AEC ปี 2015 เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจุดเปลี่ยนประเทศไทย การเป็นฐานการผลิตร่วมกัน Customs Union & Co-Production “ ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 2 www.tanitsorat.com
AEC กับธุรกิจบริการโลจิสติกส์ของคนไทยแข่งขันได้หรือไม่...??? เมื่อเข้าสู่ AEC ธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทย เป็นกลุ่มธุรกิจที่มีความเปราะบางมากที่สุด เกือบทั้งหมดเป็น SMEs มีเพียงธุรกิจขนาดกลางที่เป็นของคนไทยมีน้อยมาก ขาดความสามารถในการแข่งขันและขาดโอกาสในการเข้าถึงประโยชน์ของการเข้าสู่ AEC ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายและงานให้บริการสมัยใหม่ โดยเฉพาะกับ บริษัทข้ามชาติทั้งของไทยและต่างชาติที่งานบริการมีความซับซ้อน การแข่งขันในธุรกิจบริการโลจิสติกส์ มีความรุนแรงและจะมีมากขึ้นเมื่อมีการเข้าสู่ AEC www.tanitsorat.com
ธุรกิจในภาคบริการโลจิสติกส์Business In Logistics Service Provider (LSP) ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์
ขีดความสามารถในการแข่งขันของ LSP ไทยต่ำกว่าระดับปานกลาง การบริหารจัดการไม่เป็นสากล ขาดบุคลากรที่มีความสามรถ ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก การบริหารแบบครอบครัว ทำให้มีข้อจำกัดในการให้บริการบริษัทข้ามชาติ ไม่สามารถให้บริการแบบครบวงจร (Integrated Logistics Service Provider) เชี่ยวชาญงานเฉพาะด้านและมีขีดจำกัดในการให้บริการ ส่วนใหญ่แยกการให้บริการเป็นแต่ละส่วนงานโลจิสติกส์ ขาดความสะดวกและยุ่งยากในการใช้บริการ ขาดเครือข่ายไม่สามารถให้บริการในลักษณะที่เป็น Door to Door Service เพราะขาดเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ Non-Asset Logistics Service เป็นผู้ให้บริการที่ไม่มีคลังสินค้า รถบรรทุก เครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการ ทำให้รับงานได้เฉพาะงานให้บริการพื้นฐาน เช่น งานชิปปิ้ง งานตัวแทนหรือนายหน้า งานเอกสาร เป็นต้น ต้นทุนต่อหน่วยสูงทำให้แข่งขันไม่ได้ เพราะขาดอำนาจต่อรอง และต้องไปว่าจ้าง Subcontract ขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนราคาถูก เพราะไม่มีหลักประกันและระบบบัญชีไม่น่าเชื่อถือ มีข้อจำกัดในการเข้าเป็นโซ่อุปทานกับคู่ค้า การพัฒนาขาดความเชื่อมโยงกันระหว่างภาคการผลิตกับภาคผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ การพัฒนาที่ผ่านมา ด้านผู้ให้บริการกับผู้ใช้บริการไม่มีการเชื่อมโยง การพัฒนาเป็นแบบคู่ขนาน ขาดการบูรณาการและขาดองค์กรกลางที่เข้มแข็ง สมาคมที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการโลจิสติกส์มีอยู่เป็นจำนวนมาก ต่างดำเนินธุรกรรมโดยไม่เชื่อมโยงกัน ขาดการพัฒนาและภาครัฐไม่เข้าใจ ตามตัวเลขของกระทรวงพาณิชย์ แจ้งว่ามีผู้ประกอบการเกือบ 20,000 ราย ธุรกิจเหล่านี้แข่งขันไม่ได้ จำเป็นจะต้องมียุทธศาสตร์ มีเจ้าภาพอย่างแท้จริง www.tanitsorat.com
Logistics Service Big Playerแบ่งตามศักยภาพการแข่งขัน www.tanitsorat.com
ภาคอุตสาหกรรมต้องการอะไรจากธุรกิจบริการโลจิสติกส์What Customer Need From Service Provider? Responsiveness ความสามารถในการสนองความต้องการที่หลากหลายและซับซ้อนรวมทั้งการมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการให้บริการ (Innovation Technology) อันเกิดจากสภาวะแข่งขันและการลดต้นทุนของลูกค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น Zero Stock Management / VMI Logistics/LEAN Production/ Just in Sequent Delivery/ Kamban / Milk Run Delivery etc. Reliabilityความน่าเชื่อถือเกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่นที่มีต่อผู้ให้บริการ เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการทำงาน (Standardization) การบริหารจัดการที่ทันสมัยและการพัฒนาบุคลากร (HRD) ความเป็นมืออาชีพ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การดำเนินธุรกิจต่อเนื่องภายใต้วิกฤตต่างๆ (BCM) การเป็นที่รู้จักและน่าเชื่อถือ (Brand & Profile) Reduction ขีดความสามารถในการลดเวลา ลดบุคคลากร ลดงาน ลดต้นทุน เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทำงานหรือการให้บริการ เกี่ยวข้องกับทักษะของผู้ปฏิบัติงาน ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้ เครื่องมือ วัสดุที่เกี่ยวข้อง Responsibilityความรับผิดชอบต่อความเสียหาย ความรับผิดชอบทางกฎหมาย ความรับผิดชอบทางสังคม ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม Reclaim การเรียกกลับความเสียหาย เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชดใช้ค่าเสียหายจากความเสียหายที่เกิดขึ้น Reasonably Price ค่าบริการที่มีเหตุผลและแข่งขันได้ www.tanitsorat.com
การเตรียมพร้อมของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ (ไทย)ภายใต้ AEC VISSION: วิสัยทัศน์ เห็นโอกาสและความท้าทายภายใต้ AEC SWOT : วิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจ(จุดแข็งและจุดอ่อน) BUSINESS DIRECTION: กำหนดทิศทางธุรกิจให้ชัดเจนว่าจะไปทางไหน STRATEGY: กำหนดยุทธศาสตร์ของธุรกิจในการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน PROFESSIONAL IN BUSINESS : ความเป็นมืออาชีพในธุรกิจ INTERNATIONAL COMPETTITIVENESS : สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันและเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน : Competitiveness • ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่เป็น SMEs ให้บริการโลจิสติกส์เพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น • ภายใต้การเปิด AEC หากจะให้สามารถแข่งขันได้ จำเป็นจะต้องมีการรวมกลุ่มกันให้บริการแบบ Integrated Logistics Service Provider เพื่อให้สามารถให้บริการ โลจิสติกส์ได้แบบครบวงจร • สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้าง LSP Best Practice Model • ส่งเสริมให้มีการประกวดหรือให้รางวัลประกาศเกียรติคุณ ซึ่งจะทำให้เกิดมีการพัฒนาและก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน • การให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุนต้นทุนต่ำ www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 2. การยกระดับผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นคลัสเตอร์: Cluster Logistics Service • การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยในการจับคู่ธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง เพื่อทำให้สามารถรับงานได้ครบวงจร • สภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ภายใต้การขาดเอกภาพ รวมทั้งระดับการพัฒนาของแต่ละสมาคมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาในด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน • ในระยะยาวหากจะพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้เข้มแข็งจะต้องมีการยกระดับเป็นสภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ซึ่งจะต้องมีการออก พ.ร.บ.มารองรับ • การส่งเสริมให้ LSP เป็นส่วนหนึ่งในโซ่อุปทานของผู้ผลิต ภาคบริการโลจิสติกส์ไม่สามารถแยกการพัฒนาต่างหากออกจากการผลิตได้ www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 3. การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกของผู้ประกอบโลจิสติกส์ในการลงทุนในต่างประเทศ: AEC Opportunity • ผู้ประกอบการไทยขาดกลยุทธ์ ขาดความเข้าใจและการไม่สามารถเข้าถึงโอกาสการเข้าสู่ AEC • ภายใต้การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หน่วยงานของรัฐ เช่น BOI กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตร กระทรวงคมนาคม ฯลฯ จึงควรร่วมมือกันด้วยการ ส่งเสริมผู้ประกอบการไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน • ส่งเสริมจับคู่ธุรกิจกับผู้ร่วมทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียน เพื่อให้สามารถเข้าถึงการเปิดเสรีด้านการลงทุนของ AEC ในปี พ.ศ.2558 www.tanitsorat.com
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 4. การสร้างเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ :Supply Chain Network • ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงในโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ของกลุ่มประเทศอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง • สนับสนุนให้มีการจัดงาน AEC Logistics Fair ในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ภาคบริการโลจิสติกส์ไทยสามารถออกไปเสนอบริการกับลูกค้าโดยตรงในกลุ่มประเทศอาเซียน • Business Matching การได้พบปะจับคู่ธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ www.tanitsorat.com
กุญแจแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันกุญแจแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน CHANGE : การปรับเปลี่ยนเริ่มที่พัฒนาคนการบริหารจัดการและความโปร่งใส CORE BUSSINESS :ชัดเจนในจุดแข็งของธุรกิจ SERVICE PRODUCT : สร้างหรือหาให้พบถึงผลิตภัณฑ์บริการที่มีขีดความสามารถในการแข่งขัน NICHE MARKET : ทำการตลาดแบบเฉพาะเจาะจงรวมทั้ง Brand, Innovation, Technology NETWORK PARTNERSHIP : สร้างพันธมิตรเครือข่ายโซ่อุปทาน INTERNATIONAL STANDARD : คุณภาพและมาตรฐานทำงานในระดับนานาชาติ COMPATIBLE PRICE : ราคาที่สามารถแข่งขันได้ RISK MANAGEMENT : การบริหารความเสี่ยงภายใต้สภาวะการแข่งขันและการต่อเนื่องของธุรกิจ (BMC) www.tanitsorat.com
END ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com