1 / 35

สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง

สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง. แนวคิดและประเภทของพฤติกรรม การพัฒนาพฤติกรรม พฤติกรรมในแต่ละวัย รูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การศึกษาและการวัดพฤติกรรม. หัวข้อ. = ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นของบุคคล ทั้งที่สังเกตได้ และไม่ได้

gaenor
Download Presentation

สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัปดาห์ที่ 3เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง

  2. แนวคิดและประเภทของพฤติกรรมแนวคิดและประเภทของพฤติกรรม การพัฒนาพฤติกรรม พฤติกรรมในแต่ละวัย รูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การศึกษาและการวัดพฤติกรรม หัวข้อ

  3. = ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นของบุคคล ทั้งที่สังเกตได้ และไม่ได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมภายใน (Overt behavior) 2. พฤติกรรมภายนอก (Covert behavior) พฤติกรรม หมายถึง ?

  4. คือ การกระทำที่เกิดขึ้นภายในใจของบุคคลซึ่งบุคคลอื่นไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง -รูปธรรม สัมพันธ์กับภายนอก -นามธรรม พฤติกรรมภายใน

  5. คือ การกระทำที่เกิดขึ้นแล้วสามารถสังเกตได้โดยตรงด้วยประสาทสัมผัส -รู้ตัว (conscious) -ไม่รู้ตัว้ (un-conscious) ** สำคัญในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น พฤติกรรมภายนอก

  6. 1. พฤติกรรมต้องมีสาเหตุ . 2. สาเหตุอย่างเดียวกันไม่จำเป็นต้องนำไปสู่พฤติกรรมเดียวกัน 3. พฤติกรรมที่ต่างกันอาจมาจากสาเหตุเดียวกัน 4. พฤติกรรมหนี่งอาจมีหลายสาเหตุ . ข้อยึดถือเกี่ยวกับพฤติกรรม .

  7. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของพฤติกรรมปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของพฤติกรรม * พันธุกรรม * สิ่งแวดล้อม การพัฒนาพฤติกรรม .

  8. หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะจาก ปู่ ยา ตา ยาย พ่อแม่ สู่ลูกหลาน เป็นลักษณะที่ติดตัวมาตังแต่เกิด * ทางกาย กำหนดขอบเขต * จิตและสมอง พันธุกรรม .

  9. หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงออก โต้ตอบในลักษณะต่าง ๆ * ก่อนคลอด * หลังคลอด สิ่งแวดล้อม .

  10. หมายถึง พฤติกรรม - เป็นไปตามพัฒนาการ - สอดคล้องกับวัฒนธรรม - เป็นไปตามกฎหมาย - ขึ้นอยู่กับการให้ค่าของสังคม - เปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา / สภาพสังคม - เป็นพฤติกรรมที่ปกติในสังคมหนึ่ง แต่ อาจผิดปกติในสังคมหนึ่ง พฤติกรรมปกติ .

  11. หลักเกณฑ์ในการพิจารณา:หลักเกณฑ์ในการพิจารณา: 1. แตกต่างไปจากแบบแผนการพัฒนาตามวุฒิภาวะของบุคคล 2. ขัดแย้งกับวัฒนธรรมของสังคมที่ตนอยู่ 3. แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ * เวลา สถานที สภาพแวดล้อม พฤติกรรมผิดปกติ .

  12. 1. ก่อนคลอด 2. วัยเด็ก 3. วัยรุ่น 4. วัยผู้ใหญ่ 5. วัยสูงอายุ . พฤติกรรมในแต่ละวัย

  13. เริ่ม ? - มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งเร้าภายนอก - มีขีดจำกัด เนื่องจากสภาพแวดล้อมจำกัด - พฤติกรรมที่เกิดจากสภาพร่างกาย - พฤติกรรมของมารดาไม่มีผล พฤติกรรมก่อนคลอด

  14. เริ่ม ? - มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งเร้าภายนอก - มีขีดจำกัด เนื่องจากสภาพแวดล้อมจำกัด - พฤติกรรมที่เกิดจากสภาพร่างกาย - พฤติกรรมของมารดาไม่มีผล พฤติกรรมวัยเด็ก

  15. การพัฒนาทางร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงมากการพัฒนาทางร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงมาก เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาพฤติกรรมใหม่ ๆ พฤติกรรมด้านความคิด ทางด้านอารมณ์ เป็นวัยที่มีความสำคัญ ต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ***** พฤติกรรมวัยรุ่น

  16. พฤติกรรมภายนอก ต่อเนื่องจากวัยรุ่น แต่แสดงออกเปลี่ยนแปลงไป-รอบคอบ ยอมรับ-สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ พฤติกรรมภายใน เปลี่ยนแปลงไป สามารถควบคุมอารมณ์ได้ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น พฤติกรรมวัยผู้ใหญ่

  17. พฤติกรรมในการบริโภคเปลี่ยนแปลงต้องใช้เวลา---นิสัยพฤติกรรมในการบริโภคเปลี่ยนแปลงต้องใช้เวลา---นิสัย งานสาธารณสุขที่ให้บริการ***เน้นกลุ่มนี้ วัยผู้ใหญ่ช่วงปลายอายุประมาณ 45-60 มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอีกครั้ง-----ร่างกาย, จิตใจ พฤติกรรมวัยผู้ใหญ่

  18. พฤติกรรมภายนอก เปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน ช้าลง พฤติกรรมภายในด้านความคิดลดลง หลงลืม สภาพจิตใจของบุคคลเปลี่ยนแปลงไปมาก พฤติกรรมวัยสูงอายุ

  19. พฤติกรรมที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง - การเดิน ,การเขียนหนังสือ พฤติกรรมบางอย่างหายไป*ใหม่แทนที่ - การเล่น พฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง- การเข้าสังคม พฤติกรรมสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

  20. เคลแมน(Herber C. Kelman)แบ่งการเปลี่ยนแปลงของบุคคลเป็น 3 ลักษณะ 1. ถูกบังคับ (Compliance) - มีผลต่อพฤติกรรมภายนอก 2. การเอาแบบอย่าง (Identification)- ชั่วคราว/ถาวร 3. ยอมรับว่าเป็นสิ่งดี(Internalization)- ***** รูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

  21. สรุปได้ 4 ปัจจัย ดังนี้ 1. วุฒิภาวะ 2. ยาและสิ่งเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและจิตใจ 3. พันธุกรรม 4. การเรียนรู้ ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง

  22. หมายถึง ? การพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ ตามธรรมชาติของมนุษย์ เช่น 2-3 ด. เดิน พูด ไม่ได้ 1-1.5 ขวบ สามารถพูดและเดินได้ วุฒิภาวะ

  23. สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลได้สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลได้ ทั้ง * พฤติกรรมภายใน เช่น ความคิด สติ อารมณ์ * พฤติกรรมภายนอกเช่น หัวเราะ การพูด ยาและสิ่งเสพติด

  24. เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม * ด้านความคิดและการแสดงออก -------ระดับสติปัญญา * โรคบางอย่าง- พันธุกรรม

  25. ประกอบด้วยปัจจัยย่อยๆ ดังนี้ 1. สภาพแรงผลักดันทางร่างกาย 2. รางวัลและการลงโทษ 3. การกระทำซ้ำๆ 4. ทัศนคติ การเรียนรู้

  26. 5. ค่านิยม 6. กลุ่มบุคคล 7. ข่าวสาร 8. การจูงใจ การเรียนรู้

  27. 1. ตนเอง 2. ครอบครัว 3. ชุมชนและประเทศชาติ ผลกระทบจะขี้นอยู่กับ จำนวนบุคคลที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

  28. 1. การศึกษาพฤติกรรมโดยทางตรง 2. การศึกษาพฤติกรรมโดยทางอ้อม 3. วิธีการและเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรม การศึกษาและการวัดพฤติกรรม

  29. มี 2 วิธี 1. การสังเกตแบบให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว (Direct observation) 2. การสังเกตแบบธรรมชาติ (Naturalistic observation) - ใช้เวลามาก และมีความละเอียดในการสังเกต - สังเกตและจดบันทึกอย่างเป็นระบบ การศึกษาพฤติกรรมโดยทางตรง

  30. 1. วิธีการสัมภาษณ์ - เผชิญหน้า / โทรศัพท์ 2. วิธีการใช้แบบสอบถาม - อ่านออกเขียนได้ 3. วิธีทดลอง - ความไวต่อการสัมผัส /ไวต่อยา 4. วิธีการบันทึก การศึกษาพฤติกรรมโดยทางอ้อม

  31. มี 2 วิธี 1. วัดในเชิงปริมาณ****จำนวน 2. วัดในเชิงคุณภาพ*****เปรียบเทียบกับ - บุคคลอื่น / บรรทัดฐาน (Norms) - เกณฑ์ชี้วัดเป็นระดับ - ดี/ไม่ดี พอใช้/ปานกลาง/ดี/ดีมาก วิธีการและเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรม

  32. 1. วัดโดยการเขียนคำตอบ - / , X 2. วัดโดยการกระทำ - ต่อรูปภาพ อ่าน 3. วัดโดยเป็นอุปกรณ์ - เครื่องมือวัด เครื่องมือที่ใช้วัดคุณภาพ

  33. การจัดสภาพแวดล้อม : บ้าน สถานที่เรียน ที่ทำงาน พฤติกรรมกับชีวิตประจำวัน

  34. 1. พฤติกรรม หมายถึง ? 2. ยกตัวอย่างพฤติกรรม มา 3 ตัวอย่าง ? 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงและพัฒนาพฤติกรรม ? 4. พฤติกรรมในแต่ละวัย เหมือน หรือต่างกัน ? 5. ยกตัวอย่างพฤติกรรมที่ผิดปกติ 3 ตัวอย่าง ? คำถามก่อนเรียน

  35. 1. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นไปได้ กี่ รูปแบบ อะไรบ้าง? 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ได้แก่ ? 3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมีผลต่อครอบครัวอย่างไร ? 4. จงยกตัวอย่างเครื่องมือในการวัดพฤติกรรม มา 2 ตัวอย่าง ? 5. นักศึกษาคิดว่า พฤติกรรมมีเครื่องมือในการวัดหรือไม่ ? ยกตัวอย่าง ? 6. จากการสังเกตการจัดสภาพแวดล้อมในห้องที่อาศัย แล้วระบุว่าสิ่งใดที่ส่งเสริมสุขภาพ ? และสิ่งใดทำลายสุขภาพ ? คำถาม ?

More Related