190 likes | 353 Views
เกณฑ์การให้คะแนน : พิจารณาจาก. การชี้แจง. แนวทางการดำเนินการคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงานย่อย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553. ทำไมต้องทำ?. 1. พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545
E N D
เกณฑ์การให้คะแนน : พิจารณาจาก
การชี้แจง แนวทางการดำเนินการคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงานย่อย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ทำไมต้องทำ? 1. พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1บัญญัติว่า “ต้องมีติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ” 2. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 12 กำหนดว่า “ต้องจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร” มาตรา 45 กำหนดให้ “มีคณะผู้ตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามระยะเวลาที่กำหนด” 3. มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2546 มีมติเห็นชอบในหลักการให้ “ ทุกส่วนราชการต้องทำข้อตกลงผลงานกับผู้บังคับบัญชา มีการประเมินผล และจะได้รับสิ่งจูงใจตามระดับของผลงานตามที่ตกลง ” 4. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 1การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน กำหนดให้มีการปรับปรุงระบบ การประเมินผลการดำเนินงานโดยจัดให้มีการเจรจาและทำข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจำปี รวมทั้งให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานทุกสิ้นปี และถือเป็นเงื่อนไขของการให้เงิน รางวัลประจำปีแก่ส่วนราชการ 5. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ยุทธศาสตร์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 3.3.4 ปรับปรุงกลไกและระบบประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการให้เหมาะสม สามารถวัดผลได้ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคล
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 25) มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 15) มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 40) มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานระดับกอง/สำนัก/เขต ปีงบประมาณ 2553
คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2553 กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริมการเกษตร กรอบแนวทางการจัดทำคำรับรองฯ กอง/สำนัก/เขต ปี 2553 ให้ความเห็นชอบ จัดทำคำรับรองฯตามกรอบแนวทางที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหาร กอง/สำนัก/เขต จัดทำ คำรับรองการปฏิบัติราชการ กอง/สำนัก/เขต ปี 2553 กอง/สำนัก/เขต ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการและประเมินผลด้วยตนเอง คณะทำงานหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ตรวจ/ประเมินผล คณะกรรมการ กพร. กรมส่งเสริมการเกษตร ผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ กอง/สำนัก/เขต ปี 2553 ให้ความเห็นชอบ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร อนุมัติ การจัดสรรสิ่งจูงใจตามระดับผลงาน กลไกการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี กรมส่งเสริมการเกษตร
จ. 21 ธค.52 คณะกรรมการ กพร. ให้ความเห็นชอบกรอบฯ กพร. จ. 28 ธค.52 กพร. ชี้แจ้ง กอง/สำนัก/เขต กอง/สำนัก/เขต จัดทำคำรับรอง กพร. ศ. 8 มค. 53 รวบรวมคำรับรอง คณะทำงานฯ /กพร. เจรจาความเหมาะสม 11-15 มค.53 กอง/สำนัก/เขต จ. 18 มค.53 ลงนามคำรับรอง ศ. 29 มค.53 คณะทำงานฯ /กพร. ตรวจสอบรายละเอียด ดำเนินการตามคำรับรอง กอง/สำนัก/เขต ส่ง SAR 6 เดือน กอง/สำนัก/เขต พฤ. 15 เมย.53 กพร. สรุปผล SAR 6 เดือน อ. 27 เมย.53 คณะกรรมการ กพร. ทราบ กอง/สำนัก/เขต ส่ง SAR 9 เดือน พฤ.15 กค.53 กพร. สรุปผล SAR 9 เดือน คณะกรรมการ กพร. อ. 27 กค.53 ทราบ ศ. 15 ตค.53 กอง/สำนัก/เขต ส่ง SAR 12 เดือน กพร. 18-22 ตค.53 คณะทำงานฯ /กพร. ประเมินผลคะแนน กพร. เสนอกรอบสิ่งจูงใจ กพร. สรุปผล SAR 12 เดือน คณะกรรมการ กพร. อ. 26 ตค.53 คณะกรรมการ กพร. ทราบ ให้ความเห็นชอบ
องค์ประกอบและบทบาทของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้ององค์ประกอบและบทบาทของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมส่งเสริมการเกษตร 2. คณะทำงานภายใต้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมส่งเสริมการเกษตร 2.1 คณะทำงานบริหารองค์ความรู้ (กวพ. ประธาน/เลขาฯ) 2.2 คณะทำงานการพัฒนาการให้บริการและศูนย์บริการร่วม (สสจ. ประธาน/เลขาฯ) 2.3 คณะทำงานการรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียน (สลก. ประธาน/เลขาฯ) 2.4 คณะทำงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต (กค. ประธาน/เลขาฯ) 2.5 คณะทำงานการพัฒนาระบบควบคุมภายใน (กค. ประธาน/เลขาฯ) 2.6 คณะทำงานราชการใสสะอาด (กนต. ประธาน/เลขาฯ) 2.7 คณะทำงานการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ศสท. ประธาน/เลขาฯ) 2.8 คณะทำงานการถ่ายโอนภารกิจ (สพท. ประธาน/เลขาฯ) 2.9 คณะทำงานการจัดระบบการมีส่วนร่วม (สพก. ประธาน/เลขาฯ) 2.10 คณะทำงานพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลกรมส่งเสริมการเกษตร (กกจ. ประธาน/เลขาฯ) 3. คณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบราชการคณะต่างๆ ที่ กรมลงนามแต่งตั้ง 3.1คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (รธส.(CCO) ประธาน/กพร. เลขาฯ) 3.2คณะทำงานประหยัดพลังงาน (อธส. ประธาน/กค. เลขาฯ) 3.3 คณะทำงานการบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์และระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ(รธส. ประธาน/กผง. เลขาฯ) 3.4 คณะทำงานระบบบริหารความเสี่ยง (รธส. ประธาน/กผง. เลขาฯ)
กผง. / คณะทำงาน....................... กผง. / คณะทำงาน....................... หน่วยงาน/คณะกรรมการตรวจและประเมินผลตัวชี้วัดตามการปฏิบัติราชการกอง/สำนัก/เขต ปี2553 ตัวชี้วัดระดับกอง/สำนัก/เขต หน่วยงาน/คณะกรรมการตรวจ/ประเมินผล 1.ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี 2553 ประสิทธิผล 2.ความสำเร็จของการดำเนินงานตามภารกิจ บทบาทหน้าที่ของกอง/สำนัก/เขต 3..1ความสำเร็จของการดำเนินงานที่ได้รับมอบหมาย กพร.(KPI 3.1) / กผง. /คณะทำงาน..... (KPI 3.2) 3.2ความสำเร็จของการดำเนินงานที่ได้รับมอบหมาย คุณภาพการให้บริการ 4.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ สสจ. / คณะทำงานพัฒนาการให้บริการฯ 5.ระดับความสำเร็จของการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนของกอง/สำนัก/เขต สลก. /คณะทำงานข้อร้องเรียน 6.ระดับความสำเร็จของการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร กกจ. /คณะทำงาน HR 7.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน สสจ. / คณะทำงานพัฒนาการให้บริการฯ 8.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการประหยัดพลังงาน กค. /คณะทำงานประหยัดพลังงาน 9.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการระบบควบคุมภายใน กค. /คณะทำงานระบบควบคุมภายใน 10.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการความรู้ ประสิทธิภาพ กวพ. / คณะทำงาน KM 11.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ศสท. / คณะทำงาน IT 12.ระดับความสำเร็จของการสื่อสารทำความเข้าใจในหน่วยงาน กพร. / คณะทำงาน PMQA 13.ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการภายใต้นโยบายการกำกับดูแลองค์กรที่ดี กพร. / คณะทำงาน PMQA การพัฒนางค์กร 14.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กพร. / คณะทำงาน PMQA
กรอบแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี2553 ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดระดับกอง/สำนัก/เขต ตัวชี้วัดระดับบุคคล 1. ตัวชี้วัดงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี 2553 1.1. ผลสำเร็จของงานเชิงยุทธศาสตร์ 1.ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ประสิทธิผล 2. ตัวชี้วัดงานตามภารกิจ บทบาทหน้าที่ของกอง/สำนัก/เขต 2.ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 1.2. ผลสำเร็จของงานตามภารกิจ 3.ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกรม 3.ตัวชี้วัดงานที่ได้รับมอบหมาย 1.3. ผลสำเร็จของงานได้รับมอบหมาย 4.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 5.ความสำเร็จของการดำเนินการรับฟังข้อคิดเห็นและ ข้อร้องเรียนของกอง/สำนัก/เขต คุณภาพการให้บริการ 6.ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามทุจริต 6.ความสำเร็จของการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรในกอง/สำนัก/เขต 7.ความสำเร็จการดำเนินการเรื่องร้องเรียนจนได้ข้อยุติ 7.ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน 8.ความสำเร็จการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 8.ความสำเร็จของการดำเนินการประหยัดพลังงาน 9.อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย/ภาพรวม ประสิทธิภาพ 9.ความสำเร็จของการดำเนินการระบบควบคุมภายใน 10.ความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 10.ความสำเร็จของการดำเนินการจัดการความรู้ 11.ความสำเร็จของมาตรการประหยัดพลังงาน 11.ความสำเร็จของการดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน 12.ความสำเร็จของการควบคุมภายใน 12.ความสำเร็จของการสื่อสารทำความเข้าใจในหน่วยงาน 13. ความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน 13.การดำเนินงานกรรมภายใต้นโยบายการกำกับดูแลองค์กรที่ดี 14. ความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย การพัฒนาองค์กร 15. ความสำเร็จการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 14ความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2.ผลการประเมินสมรรถนะ
Strategy Map กอง /สำนัก /เขต ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 1.ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี 2553 2.ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามภารกิจ บทบาทหน้าที่ ของกอง /สำนัก /เขต 3.ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย ประสิทธิผล การบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร การบรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม ภารกิจ บทบาทหน้าที่ กอง/สำนัก/เขต การบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามงานที่ได้รับมอบหมาย 4.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของกับผู้รับบริการ 5.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนของกอง/สำนัก/เขต 6.ระดับความสำเร็จของการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรในกอง/สำนัก/เขต คุณภาพการให้บริการ การปฏิบัติงานและการให้บริการที่ดี 7.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน 8.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการประหยัดพลังงาน 9.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการระบบควบคุมภายใน 10.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการความรู้ ประสิทธิภาพ 11.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน 12.ระดับความสำเร็จของการสื่อสารทำความเข้าใจในหน่วยงาน 13.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมภายใต้นโยบายการกำกับดูแลองค์กรที่ดี การมีขีดความสามารถและมาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูง 14.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) การพัฒนาองค์กร การบริหารจัดการองค์กรที่ดี
หน่วยงานรับผิดชอบและตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในระดับหน่วยงานหน่วยงานรับผิดชอบและตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในระดับหน่วยงาน ๑) กพร. : กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (๑๓) สพท. : สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี (๒) กตน. : กลุ่มตรวจสอบภายใน (๑๔) กวศ. : กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร (๓) สลก. : สำนักงานเลขานุการกรม (๑๕) กนต. : กองนิติการ (๔) สลก. : ศูนย์สารสนเทศ (๑๖) สวก. : สถานีวิทยุกระจายเสียงฯ (๕) กกจ. : กองการเจ้าหน้าที่ (๑๗) สลคช. : สนง.วิสาหกิจชุมชน (๖) กผง. : กองแผนงาน (๑๘) สนภ. : สถาบันฯเศรษฐกิจพอเพียง (๗) กค. : กองคลัง (๑๙) สสข.1 : ชัยนาท (๘) กพฉ. : กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ (๒๐) สสข.2 : ราชบุรี (๙) กวพ. : กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร (๒๑) สสข.3 : ระยอง (๑๐) สพก.: สำนักพัฒนาเกษตรกร (๒๒) สสข.4 : ขอนแก่น (๑๑) สสจ. : สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร (๒๓) สสข.5 : สงขลา (๑๒) สพส.: สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้า (๒๔) สสข.6 : เชียงใหม่
ตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในระดับหน่วยงานตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในระดับหน่วยงาน การกำหนดหน่วยงานที่ทำให้เกิดผลงานโดยเป็นเจ้าภาพหลัก หน่วยงานที่ทำให้เกิดผลงานโดยเป็นผู้ร่วมดำเนินการ และจำนวนตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการทั้งหมด สามารถวิเคราะห์โดยใช้ ตาราง OS Matrix
การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ • การติดตามและประเมินผล ดำเนินการในลักษณะต่างๆ คือ • 1. การศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ต่างๆ เช่น • -รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ (SAR:) รอบ 6 , 9 และ 12 เดือน • -เอกสาร หลักฐานประกอบอื่นๆ • 2. การวัดระดับความพึงพอใจ โดยการสัมภาษณ์ ผู้รับบริการ/ลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการพิจารณา • 3. การขอข้อมูลจากหน่วยงานกลาง เช่น E – project จาก กองแผนงาน GFMIS จาก กองคลัง
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการตอนสิ้นปีงบประมาณวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการตอนสิ้นปีงบประมาณ การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงปริมาณ การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงเชิงคุณภาพ การประเมินผลตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) การประเมินผลตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) การคำนวณผลการประเมิน ระดับคะแนนของผลการประเมินในแต่ละระดับ เป็นดังนี้
การรายงานผลการปฏิบัติราชการการรายงานผลการปฏิบัติราชการ รายงานตามรอบระยะเวลาการประเมิน รวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน ให้รายงานภายในวันที่ 15 เมษายน 2553 ครั้งที่ 2 รอบ 9 เดือน ให้รายงานภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 ครั้งที่ 3 รอบ 12 เดือน ให้รายงานภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2553 หากส่งช้ากว่าเวลาที่กำหนดหักวันละ 0.01 คะแนน จากคะแนนสรุปผลปลายปี การรายงานครั้งที่ 1 และ 2 ไม่ต้องแนบเอกสารหลักฐานที่ระบุถึงในรายงาน แต่การรายงาน ครั้งที่ 3 ให้แนบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วน เพื่อการตรวจสอบของคณะกรรมการ
การเขียนรายงาน วิธีการเขียนรายงานให้ใช้แบบฟอร์มที่กำหนด (Templates) ตามลักษณะและ เกณฑ์ตัวชี้วัดสามารถแบ่งได้เป็น 4 แบบ ดังนี้ 1. การเขียนรายงานตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 2. การเขียนรายงานตัวชี้วัดเชิงเชิงคุณภาพ 3. การเขียนรายงานตัวชี้วัดแบบขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) 4. การเขียนรายงานตัวชี้วัดแบบสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail)
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้าน รัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน
เพลง ดอกไม้ให้คุณศิลปิน แจ้ ดนุพลขอมอบดอกไม้ในสวนนี้เพื่อมวลประชาจะอยู่แห่งไหนจะใกล้จะไกลจนสุดขอบฟ้าขอมอบความหวังดั่งดอกไม้ผลิสดไสวนานาเป็นกำลังใจให้คุณเป็นกำลังใจให้เธอเป็นสิ่งเสนอให้มาดวงตะวันทอแสงมิถอยแรงอัปปรางเป็นเปลวไฟที่ไหม้นานเป็นสายธารที่ชุ่มป่าเป็นแผ่นฟ้าทานทนขอมอบดอกไม้ในสวน ที่หอมอบอวลสู่ชนจงสบสิ่งหวังให้สมตั้งใจ ให้คลายหมองหม่นก้าวต่อไปตราบชีวิตสุด ดุจกระแสชลเป็นกำลังใจให้คุณเป็นกำลังใจให้เธอ เป็นสิ่งเสนอให้คุณ
สวัสดี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร Public Sector Development Division ๐๒ - ๙๔๐๖๐๒๓ ๐๒ - ๙๔๐๖๐๗๔ E - mail : psdd@ doae.go.th