160 likes | 372 Views
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และ งบประมาณจังหวัด. โดย นายธนวัฒน์ พลอยโสภณ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดขอนแก่น. ขอบเขตการบรรยาย. 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด 1.1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 1.2 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
E N D
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด โดยนายธนวัฒน์ พลอยโสภณหัวหน้าสำนักงานจังหวัดขอนแก่น
ขอบเขตการบรรยาย 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด 1.1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 1.2 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 1.3 ร่าง พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. .... 2. เนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัด 3. กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด 3.1 กระบวนการจัดทำฯ ตามร่าง พ.ร.ฏ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ... 3.2 กระบวนการจัดทำฯ ของจังหวัดขอนแก่น
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด มาตรา 78(2) แห่งรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 “......สนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด มาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือ กลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีงบประมาณ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด มาตรา 10 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด • เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ร่าง พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ....
สาระสำคัญของร่างพระราชกฤษฎีกาฯสาระสำคัญของร่างพระราชกฤษฎีกาฯ 1. กำหนดหลักการของการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ • มาตรา 6 2. กำหนดองค์กรรับผิดชอบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ • มาตรา 7 – 13 3. กำหนดหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ • มาตรา 14 – 15 4. กำหนดแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • มาตรา 17 – 20 5. กำหนดแนวทางในการจัดทำงบประมาณจังหวัด • มาตรา 25 และ 28
เนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัด 1. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 10 : แผนพัฒนาจังหวัดต้อง 1. สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมในระดับชาติ 2. สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ในท้องถิ่นในจังหวัด : เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและ หน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด
เนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัด 2. ร่าง พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณการ มาตรา 3 : “แผนพัฒนาจังหวัด” หมายความว่า รายการเกี่ยวกับ โครงการ และแผนงานต่าง ๆ ของจังหวัดที่จำเป็นต้อง ทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการ พัฒนาจังหวัดในอนาคต : แผนพัฒนาจังหวัดอย่างน้อยต้องระบบรายละเอียด เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ : แผนพัฒนาจังหวัดมีระยะเวลา 4 ปี
เนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเนื้อหาสาระและความสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัด 2. ร่าง พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณการ มาตรา 18 : แผนพัฒนาจังหวัดต้องคำนึงถึงความต้องการและ ศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด รวม ตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ มาตรา 19 : เมื่อแผนพัฒนาจังหวัดได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและ ประกาศใช้แล้วการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและการดำเนินกิจการของจังหวัดและหน่วยงานของรัฐที่ เกี่ยวข้องต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 10: ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้มีการประชุมหารือร่วมกัน ระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นราชการการบริหารราชการส่วนภูมิภาคหรือรายการ บริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดในจังหวัดร่วมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทน ภาคธุรกิจเอกชน
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ตามร่าง พ.ร.ฎ. มาตรา 19 : ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันกับบุคคลดังต่อไปนี้เพื่อ รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดที่ ก.บ.จ. จัดทำตามมาตร 18 (1) หัวหน้าส่วนราชการที่สถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดหรือมีเขตอำนาจหน้าที่ ในจังหวัดไม่อาจจะเป็นราชการส่วนภูมิภาคหรือส่วนกลาง (2) หัวหน้าหน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ บรรดาที่มีสถาน ที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดหรือมีเขตอำนาจหน้าที่ในจังหวัด (3) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด (4) ผู้แทนภาคประชาสังคม (5) ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน เมื่อดำเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ ก.บ.จ. นำผลการประชุมปรึกษาหารือและความคิดเห็นของที่ประชุมมาปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์ แล้วส่ง ก.น.จ. เพื่อพิจารณานำเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบต่อไป ทั้งนี้ ให้ส่งสำเนาให้ ก.บ.ก. ทราบด้วย
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัดตามร่าง พ.ร.ฎ. ฯ การจัดทำงบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี ก.บ.จ. จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดระยะ 1 ปี (มาตรา 25) • งบประมาณที่จะขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ สำนักงบประมาณ จัดทำเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำหรับแผนพัฒนาจังหวัด (มาตรา 28) • คำของบประมาณของส่วนราชการ •งบประมาณที่จังหวัดจะขอตั้ง งบประมาณโดยตรง •คำของบประมาณของจังหวัด
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดขอนแก่นกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดขอนแก่น (รูปธรรม) (นามธรรม) จังหวัด จัดทำ...... • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ อำเภอ จัดทำแผนพัฒนาอำเภอ (4 ปี) • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด • ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • แผนงาน/โครงการ (รูปธรรม) จังหวัด ประมวลจัดทำเป็นแผนพัฒนาจังหวัด (4 ปี)