1 / 25

 น้ำหนักเครื่อง 525 กรัม

ข้อมูลพื้นฐานของเครื่อง.  น้ำหนักเครื่อง 525 กรัม  เครื่องประกอบด้วย 4 SENSOR คือ CARBON MONOXIDE SENSOR, HYDROGEN SULFIDE SENSOR,COMBUSTIBLE SENSOR, OXYGEN SENSOR  ใช้งานต่อเนื่อง 16 ชั่วโมง  BATTERRY ชนิด RECHAGEABLE 3.6 V LI-ION

galen
Download Presentation

 น้ำหนักเครื่อง 525 กรัม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลพื้นฐานของเครื่องข้อมูลพื้นฐานของเครื่อง  น้ำหนักเครื่อง 525 กรัม  เครื่องประกอบด้วย 4 SENSOR คือ CARBON MONOXIDE SENSOR, HYDROGEN SULFIDE SENSOR,COMBUSTIBLE SENSOR,OXYGEN SENSOR ใช้งานต่อเนื่อง 16 ชั่วโมง BATTERRY ชนิด RECHAGEABLE 3.6 V LI-ION หรือใช้ชนิด ALKLINE 3A “AAA” จำนวน 3 ก้อน ใช้งานต่อเนื่อง 6 ชั่วโมง ระยะเวลาชาร์จ BATTERRY8 ชั่วโมง จอแสดงผลชนิด LCD โดยมี BACK LIGHT ใช้งานในที่อับแสง

  2. ข้อมูลพื้นฐานของเครื่องข้อมูลพื้นฐานของเครื่อง  มีจุดควบคุมใช้งาน 3 ปุ่ม โดย 1 ปุ่ม สำหรับ เปิด-ปิด และควบคุม การใช้งานส่วนอีก 2 ปุ่ม ควบคุมการใช้โปรแกรม ค่าที่เครื่องแสดง ชื่อของ SENSOR - ค่า HIGH ,LOW ของ COMBUSTIBLE GAS ,OXYGEN - ค่า TWA และ STEL ของ TOXIC มี PUMP ในตัวเครื่อง  สามารถปรับตั้งค่า ALARM ได้  ความดังของเสียง 95 dB มีระบบกันกระแทก RUBBER BOOT พร้อม BELT CLIP  มีระบบป้องกันในการปรับตั้งค่าต่างๆ ของเครื่อง

  3. ส่วนประกอบ

  4. ส่วนประกอบ

  5. หน้าที่ของปุ่มกดต่างๆหน้าที่ของปุ่มกดต่างๆ กดปุ่ม [MODE] ค้างไว้ 1 วินาที แล้วปล่อยจะเป็นการ “ON”Power หลังจากเครื่องทำงานไปแล้ว กด [MODE] ค้างไว้ 5 วินาที จะเป็นการปิดเครื่อง [MODE] • เป็นการตอบปฏิเสธในการโปรแกรมใน Programming Mode • ปุ่มที่ใช้ในการลดค่าของตัวเลข • ใช้ในการเปิดและปิด backlight [N/-]

  6. เป็นการตอบตกลงในการโปรแกรม • ใช้ในการเพิ่มค่าของตัวเลข • ใช้ทดสอบสัญญาณ alarm • เป็นปุ่มที่ใช้ปิดสัญญาณ alarm เมื่อเกิดการ alarm เมื่อเกิดการ alarm และใช้เปิดปั๊มให้ทำงานอีกครั้งหลังจากการเกิด alarm [Y/-] Q-RAE จะมี 2 โหมดในการทำงานคือ • Basic Mode • Advanced Mode

  7. สัญลักษณ์ที่แสดงเมื่อเปิดเครื่อง GAS DETECTOR

  8. สัญลักษณ์ที่แสดงเมื่อเปิดเครื่อง GAS DETECTOR

  9. ค่าสัญญาณเตือน (ALARM LIMITS)

  10. ขั้นตอนการใช้งาน • กด MODE ค้างไว้ประมาณ 1 วินาทีแล้วปล่อยเครื่องจะเปิดทำงาน • ดังรูปที่ 1 • 2. รอประมาณ 1 นาทีเพื่อให้เครื่อง RUN ระบบ • 3. เมื่อเครื่อง RUN ระบบในข้อ 2 เรียบร้อยแล้ว ที่หน้าจอ LCD จะแสดง • ค่าของ SENSOR ซึ่งเครื่องได้เข้าสู่ระบบการนำไปใช้งาน ดังรูปที่ 2 LCD Display Alarm and Indication LEDs Light Sensor MODE and ON/OFF Key รูปที่ 1 รูปที่ 2

  11. 4.ก่อนนำเครื่องไปใช้งานให้ทำการ FRESH AIR CALIBRATION ดังนี้ 4.1ให้นำเครื่องไป CALIBRATE ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์เท่านั้น 4.2กดปุ่มMODE และ N/- ค้างไว้จนหน้าจอ โชว์ “DATALOG PAUSED” 4.3 หลังจากนั้นหน้าจอโชว์ “CALIBRATE MONITOR ให้กดปุ่ม Y/+ 4.4 หลังจากนั้นหน้าจอโชว์ “FRESH AIR CALIBRATION“ให้กดปุ่ม Y/+ 4.5 หน้าจอ โชว์ “ZERO” และเริ่มทำ IN PROGRESS….” ทำ ZEROING 4.6ห้ามกดปุ่มใดๆทั้งสิ้นรอจนหน้าจอ โชว์ MUTIPLE SENSOR CALIBRATION 4.7 กดปุ่ม 2 ครั้งเพื่อกลับสู่หน้าจอใช้งานตามปกติ

  12. 5. ในขณะนำเครื่องไปใช้งานตรวจวัด เมื่อเครื่องตรวจพบ GAS ที่มีปริมาณสูงกว่าค่า LOW ,HIGH ที่กำหนดไว้ หรือการทดสอบการทำงานของ PUMP จะเกิดสัญญาณเตือนการหยุดสัญญาณเตือนให้กดปุ่ม Y/+ 6.เมื่อเสร็จสิ้นการใช้งาน ให้ดำเนินการปิดเครื่อง โดยกด MODE ค้างไว้ประมาณ 5 วินาทีแล้วปล่อยเครื่องจะปิดทำงาน 7. เมื่อต้องการใช้งาน GAS DETECTOR ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนใน ข้อ 1-4 8.กรณีใช้งานแล้วเกิดปัญหา GAS DETECTOR ผิดปกติ ให้ส่งหน่วยงานที่รับผิดชอบทันที

  13. ซอฟแวร์ที่สามารถทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์(Computer Interfaces) ในการกำหนดฟังชั่นก์บนเครื่องมือวัดแก๊สได้ เช่น, ระยะเวลาการบันทึกค่าการตรวจวัด(Run time), การแสดงค่าเป็นแบบเฉลี่ย เป็นต้น

  14. การกำหนดค่า Low/High Alarm, ค่าทางสุขภาพอนามัย TWA, STEL, ค่าการสอบเทียบเซ็นเซอร์

  15. การกำหนดเซ็นเซอร์และแก๊สที่ใช้ในการสอบเทียบเซ็นเซอร์ การกำหนดเซ็นเซอร์และแก๊สที่ใช้ในการสอบเทียบเซ็นเซอร์

  16. กำหนดสัญญาณการเตือนของเครื่องมือ กำหนดสัญญาณการเตือนของเครื่องมือ

  17. การกำหนดการแสดงผลการตรวจวัดของเซ็นเซอร์ต่างๆเช่น ออกซิเจนเซ็นเซอร์ เซ็นเซอร์ของแก๊สไวไฟ รวมทั่งช่วงการเก็บ Interval Time

  18. การสั่งให้โปรแกรมแสดงผลการตรวจวัดเป็นกราฟเส้น โดยแยกตามเซ็นเซอร์ชนิดต่างๆ

  19. การเลือกให้กราฟแสดงผลเฉพาะเซ็นเซอร์ การเลือกให้กราฟแสดงผลเฉพาะเซ็นเซอร์

  20. ข้อพึงระวัง 1. ต้องใส่ WATER TRAP FILTER ทุกครั้งที่นำเครื่องไปตรวจวัด 2. หลีกเลี่ยงการตรวจวัดที่ต้องสัมผัสน้ำโดยตรง 3. ต้องคล้องสายหิ้วของ GAS DETECTOR ที่ข้อมือทุกครั้งที่นำเครื่องไปตรวจวัดเพื่อป้องกันการทำเครื่องตกได้รับความ เสียหาย 4. ไม่ปรับตั้งค่า GAS DETECTORเอง โดยไม่มีความรู้ความเข้าใจ 5. เมื่อตรวจพบสิ่งผิดปกติเกิดที่ GAS DETECTOR ให้ส่งหน่วยงานที่รับผิดชอบทันที ไม่ควรดำเนินการแก้ไขเอง

  21. การทดสอบการทำงาน และ การสอบเทียบเครื่องวัด Bump Test & Calibration

  22. 4 ขั้นตอนการทำงานกับเครื่องวัดแก๊ส อย่างมีประสิทธิภาพ เปิดเครื่อง และ ตรวจสอบแบตเตอรี่ ทำการ zero เครื่อง ทำการสอบเทียบ หรือ การทดสอบการทำงานของ sensor Clear ค่าสูงสุดที่ค้างอยู่ในเครื่อง

  23. การตรวจสอบอายุการใช้งานของ sensor การตรวจสอบสภาพภายนอก การตอบสนอง 90 % ของค่าที่อ่านได้ ภายใน 30 วินาที Span reserve 70 % สภาพดี 60 – 50 % ปานกลาง 50 % ต้องเปลี่ยน sensor อายุของ sensor

More Related