420 likes | 507 Views
ICT in KM. Knowledge Management Program. CAMT. CMU. 06:. E-Learning. Achara Khamaksorn : July 2011 Knowledge Management Program, College of Arts, Media and Technology, Chiangmai University. E - Learning VS KM. 06: ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning). ?.
E N D
ICT in KM Knowledge Management Program CAMT.CMU 06: E-Learning Achara Khamaksorn : July 2011 Knowledge Management Program, College of Arts, Media and Technology, Chiangmai University
E-Learning VS KM 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
? 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project What is E-Learning
E-Learning cai ต่างจาก อย่างไร? 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning E-Learning • หมายถึง กระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียน • การสอนผ่านเว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งระบบ Internet, Intranet, Network , Audio, Visual, Video , Television, Satellite, CD ROM ฯลฯ E-Learning • หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ • ความสามารถของระบบ อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ E-Learning • หมายถึง การบูรณาการทางการศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลา • และความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning องค์ประกอบของ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning องค์ประกอบของ 1. เนื้อหา (Content) ไมไดจํากัดเฉพาะสื่อการสอน และ/หรือ คอรสแวรเทานั้นแตยังหมายถึงสวนประกอบสําคัญอื่นๆ ที่ e-Learningจําเปนจะตองมีเพื่อใหเนื้อหามีความสมบูรณ เชน คําแนะนําการเรียน ประกาศสําคัญตาง ๆ ผลปอนกลับของผูสอน 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LearningManagementSystem) ระบบบริหารจัดการการเรียนรู ซึ่งเปนเสมือนระบบที่รวบรวมเครื่องมือซึ่งออกแบบไวเพื่อใหความสะดวกแกผูใชในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน ระบบบริหารจัดการการเรียนรูที่สมบูรณจะจัดหาเครื่องมือในการติดตอสื่อสารไวสําหรับผูใชระบบไมวาจะเปนในลักษณะของไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เว็บบอรด (WebBoard) หรือ แช็ท (Chat) บางระบบก็ยังจัดหาองคประกอบพิเศษอื่นๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชอีกมากมาย เชน ดูสถิติการเขาใชงานในระบบการอนุญาตใหผูใชสรางตารางการเรียน ปฏิทินการเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning องค์ประกอบของ 3. โหมดการติดตอสื่อสาร (ModesofCommunication) • คือ การจัดใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอน วิทยากร ผูเชี่ยวชาญอื่นๆ รวมทั้งผูเรียนดวยกัน ในลักษณะที่หลากหลายและสะดวกตอผูใช กล่าวคือ มีเครื่องมือที่จัดหาไวใหผูเรียนใชไดมากกวา 1 รูปแบบ รวมทั้งเครื่องมือนั้นจะตองมีความสะดวกในการใชงาน (user-friendly) ดวย เครื่องมือที่ e-Learning ควรจัดหาใหผูเรียน • 3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร • การประชุมทางคอมพิวเตอรทั้งในลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบตางเวลา (Asynchronous) เช่น WebBoard • ลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous) เชน การสนทนาออนไลน์ เช่น Chat ในบางระบบอาจจัดใหมีการถายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผานทางเว็บ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning องค์ประกอบของ 3. โหมดการติดตอสื่อสาร (ModesofCommunication) 3.2 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เปนองคประกอบสําคัญเพื่อใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอนหรือผูเรียนอื่นๆ ในลักษณะรายบุคคล การสงงานและผลปอนกลับให ผูเรียน ผูสอนสามารถใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ในการให้ความคิดเห็นและผลปอนกลับที่ทัน ตอเหตุการณ์ 4. แบบฝกหัด/แบบทดสอบ 4.1 การจัดใหมีแบบฝกหัดสําหรับผูเรียน 4.2 การจัดใหมีแบบทดสอบผูเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning คุณลักษณะของ E-Learning • Distance Education • Anytime Anywhere Anyplace • Collaborative Learning • NonLinearity • Dynamic updating • Easy Accessibility E-Learning E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning ประโยชน์ของ E-Learning E-Learning E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning ประโยชน์ของ E-Learning • สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา • สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ • ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ • ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย • ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้ E-Learning E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning ประโยชน์ของ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ระบบการจัดการเรียนรู้ระบบการจัดการเรียนรู้ E-Learning • LMS (Learning Management System) • เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนต่างๆในการออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหาการลงทะเบียนการเก็บข้อมูลการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่นอีเมล์กระดานข่าวห้องสนทนาเป็นต้นซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนผู้สอนผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ระบบการจัดการเนื้อหา E-Learning • CMS (Content Management System) • เป็นในส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียนผู้สอนจะเป็นผู้จัดทำขึ้นและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้สอนจัดทำขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอนสามารถจัดการบริหารเพิ่มเติมเนื้อหาติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเองอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอนเพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบเข้ามาช่วย 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ความแตกต่างระหว่าง Lmsvscms 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
คณะทำงาน E-Learning • ผู้ดูแลระบบ (Administrator)เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายการบริหารเครือข่าย • ผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ • ผู้ออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบและสร้างเว็บตามผู้ออกแบบการเรียนการสอน • ผู้ออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Developer) เป็นผู้กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนองค์ประกอบเนื้อหา • ผู้สอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่ต้องการจะนำมาใช้ในการเรียนการสอนกำหนดเนื้อหาที่จะสอนแบบฝึกหัดข้อสอบการวัดผลและประเมินการเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการสอนผ่าน web • CAI on Web • Online Learning • WBI : Web-based Instruction • WBT : Web-Based Training • IBI: Internet-Based Instruction 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning • การวางแผน Planning • การออกแบบ Design • การพัฒนา Development • การติดตั้ง Publishing • การตรวจสอบและดูแล Maintenance 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning • Planning • หน้าแรกของเว็บไซต์Homepage • ข้อมูลหน่วยงาน(Information) • โปรแกรมการสร้างและพัฒนาเว็บ • Dreamweaver, PhotoShop, Flash etc.. • พื้นที่ติดตั้งเว็บไซต์และองค์ประกอบภายในเว็บ • Thai.net , NECTEC • ผู้รับผิดชอบตรวจสอบและดูแล • Webmaster หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Learning • NECTEC • http://www.nectec.or.th • CHULAONLINE • http://www.chulaonline.com • THAI2Learn • http://www.thai2learn.com • THAIWBI • http://www.thaiwbi.com • Webbassed learning • http://www26.brinkster.com/it2002/wbi.html 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ข้อจำกัดของ E-Learning 1. ผูสอนที่นํา e-Learningไปใชในลักษณะของสื่อเสริม โดยไมมีการ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย ยัง คงใชแตวิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งใหผูเรียนไปทบทวนจาก e-Learning 2.ผูสอนจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูใหเนื้อหาแกผูเรียนมาเปนผูชวยเหลือและใหคําแนะนําตางๆแกผูเรียน หมายรวมถึง การที่ผูสอนควรมีความพรอมทางดานทักษะคอมพิวเตอรและรับผิดชอบตอการสอนมีความใสใจกับผูเรียนโดยไมทิ้งผูเรียน 3. การลงทุนในดานของ e-Learning ตองครอบคลุมถึงการจัดการใหผูสอนและผูเรียนสามารถ เขาถึงเนื้อหาและการติดตอสื่อสารออนไลนไดสะดวกและมีประสิทธิภาพ เชน ผูสอนและผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูอื่นได และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะอยางยิ่งในลักษณะมัลติมีเดียไดอยางครบถวน ดวยความเร็วพอสมควร 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ข้อจำกัดของ E-Learning 4. ในการที่ e-Learningจะสงผลตอประสิทธิผลของการเรียนรูของผูเรียนไดนั้น สิ่งสําคัญไดแก การที่ผูเรียนจะตองรูจักวิธีการเรียนรูดวยตนเอง (self-Learning) อยางมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงความสําคัญในการสรางเสริมลักษณะนิสัยใฝเรียน ใฝรู รูจักวิธีการเลือกสรรประเมิน รวบรวมสารสนเทศ รวมทั้งรูจักการจัดระเบียบ(organize) วิเคราะห สังเคราะห และการนําเสนอสารสนเทศตามความเขาใจของตนเอง 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ระดับของการนำ E-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน การนํา e-Learningไปใชในการเรียนการสอน สามารถทําได 3 ระดับ 1. ใช e-Learningเปนสื่อเสริม (Supplementary) หมายถึง นอกจากการนํา e-Learningไปใชแล้ว ผูเรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่นๆ เชน จากเอกสาร(Sheet) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน (Videotape) ฯลฯ 2. ใช e-Learningเปนสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนํา e-Learningไปใชในลักษณะเพิ่มเติมจากวิธีการสอนในลักษณะอื่น ๆ เชน นอกจากการบรรยายในหองเรียนแลว ผูสอนยังออกแบบเนื้อหาใหผูเรียนเขาไปศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning เนื้อหาที่ผูเรียนเรียนจาก e-Learningผูสอนไมจําเปนตองสอนซ้ำอีก แตสามารถใชเวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาที่เขาใจไดยาก คอนขางซับซอน หรือเปนคําถามที่มีความเขาใจผิดบอย ๆ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ระดับของการนำ E-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน 3. ใช e-Learningเปนสื่อหลัก (ComprehensiveReplacement) หมายถึงการนํา e-Learningไปใชในลักษณะแทนที่การบรรยายในหองเรียน ผูเรียนจะตองศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลนและโตตอบกับเพื่อนและผูเรียนอื่นๆ ในชั้นเรียนผานทางเครื่องมือติดตอสื่อสารตางๆ ที่ e-Learning จัดเตรียมไว้ ในปจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนํา e-Learningไปใชในตางประเทศจะอยูในลักษณะ learningthroughtechnology หมายถึง การเรียนรูโดยมุงเนนการเรียนในลักษณะมีสวนรวมของผูเกี่ยวของไมวาจะเปน ผูสอน ผูเรียน และผูเชี่ยวชาญอื่น ๆ (CollaborativeLearning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนําเสนอเนื้อหา และกิจกรรมตางๆซึ่งตองการการโตตอบ ผานเครื่องมือสื่อสารตลอด ในขณะที่ในประเทศไทยการใช e-Learning ในลักษณะสื่อหลักเชนเดียวกับตางประเทศนั้น จะอยูในวงจํากัดแตการใชสวนใหญจะยังคงเปนในลักษณะของ learningwithtechnology ซึ่งหมายถึง การใช e-Learningเปนเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพื่อใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรน สนุกสนานพรอมไปกับการเรียนรูในชั้นเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การวัดผลสำเร็จของ E-Learning • วัดจาก Business Goals (การส่งออก (Outcome) ไม่ใช่ ผลของการส่ง (Output)) • ทางธุรกิจจะเน้นเรื่องผลตอบแทนการลงทุน (Return On Investment (ROI)) • Save cost VS Profit • Hard gain VS Soft gain โปรแกรมสร้างบทเรียนที่มีใช้หลายแห่งในประเทศ • Moodle (ม.วลัยลักษณ์, ม.บูรพา) • Claroline (ม.ธรรมศาสตร์?) • ATutor (ม.ศรีนครินทรวิโรฒ, ม.นเรศวร, ม.สุโขทัย) 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
http://moodle.org/ Moodle
Moodle Background ของผู้พัฒนา • Mr.MartinDougiamasผู้ดูแลระบบการเรียนการสอนออนไลน์ Curtin University • ปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์, เป็นผู้พัฒนาซอฟท์แวร์อินเทอร์เน็ต (ตั้งแต่ปี 1986) • ไม่พึงพอใจกับโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้อยู่ ณ เวลานั้น • มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาและปรับแต่งซอฟท์แวร์ แต่ติดปัญหาเรื่องของ closed-source licenses • มีความเชื่ออย่างแรงกล้าในเรื่องของความเป็นไปได้ในการพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า • วิจัยระดับปริญญาโทและเอก • กรณีศึกษาห้องเรียนออนไลน์และนักเรียนในห้องเรียนออนไลน์ • ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยละเอียด Moodle 1.0 , สิงหาคม 2545 • Mr. MartinDougiamas 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
Moodle ปรัชญาการสร้าง • การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)คนเรานั้นจะมีการสร้างความรู้ใหม่เสมอ หากมีสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวย การเรียนรู้แบบเดิมที่มาจากการ ฟัง เห็น ล้วนเป็นการเรียนรู้ทางเดียว นั่นคือเราเป็นผู้รับสารและเก็บเอาไว้ จึงมีการเรียกผู้ที่มีความจำดีว่า “พจนานุกรมเดินได้” หากแต่เราจะเรียนรู้ได้มากกว่าหากเป็นการถ่ายทอดจากสมองสู่สมองนั่นคือ มีการแลกเปลี่ยนทัศนะและเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น • การเรียนรู้แบบคิดเองสร้างเอง (Constructionist)การเรียนรู้แบบคิดเองสร้างเองคือ การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำไม่ว่าจะเป็นการพูด การโพสต์แสดงความคิดเห็นบนกระดานเสวนา ตัวอย่างเช่น ปกติอ่านหนังสือพอวางหนังสือก็จะลืม แต่ถ้าได้อธิบายให้คนอื่นฟังจะทำให้จำได้มากขึ้น 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
Moodle ปรัชญาการสร้าง • การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในสังคม (Social Constructivism)การเรียนรู้ร่วมกันเป็นหมู่คณะโดยอาศัยหลักการว่าความสำเร็จของหมู่คณะ คือ ความสำเร็จของตน • ทุกคนสามารถเป็นครูและนักเรียนได้ในเวลาเดียวกัน • เรียนรู้ด้วยการสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ผู้อื่นเห็น • เรียนรู้ด้วยการสังเกตการณ์การกระทำของเพื่อนร่วมชั้นเรียน • เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับบริบทส่วนบุคคลของผู้เรียน (เรียกว่า Transformative Knowledge and Constructivism) • มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนและปรับแต่งได้ เนื่องจากทุกคนในห้องเรียนออนไลน์มีส่วนร่วมในการสร้างห้องเรียน • การเชื่อมโยงและการแยกส่วน (Connected and Separated Knowing) • ผู้ที่มีพฤติกรรมแบบเชื่อมโยงภายในกลุ่ม จะเป็นผู้ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้นอกจากจะทำให้คนในกลุ่มมีความสนิทสนมกันมากขึ้นแล้วยังช่วยให้แต่ละคนได้สะท้อนความคิดของตน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
Moodle ความสามารถของ • เป็น CMS (Course Management System) open source ที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก • สามารถนำเอกสารหรือไฟล์รูปแบบต่างๆ เข้าไปได้ เช่น Word, PowerPoint, PDF, Webpage (html) Video และ Image • มีระบบติดต่อสื่อสารครบทุกประเภท เช่น Webboard, Chat etc. • มีระบบการทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ส่งและรับการบ้าน • มีการ UPLOAD ขึ้นเครื่องแม่ข่าย ได้โดยใช้ Zip • มีการปรับโปรแกรมเป็นภาษาไทยที่ใช้งานได้ดี 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
Moodle ทำอะไรได้บ้าง? • Chat • Glossary • Label • Lesson • Web board • Homework • Vote • Test • Source 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
Moodle องค์กรที่ใช้ สอนส่วนตัว ประถม มัธยมมหาวิทยาลัย บริษัท อื่นๆ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
http://www.claroline.net/ Claroline
ATutor http://www.atutor.ca/
E-Learning tools: E-Mail • Every teacher should have an e-mail account • Communicate with students • Communicate with parents • Students can submit assignment • Can have attachments • Create a paperless environment • Simple but effective • Efficient and cost effective 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning tools: chat • Synchronous communication tool • Communicate with students • Communicate with parents • More students participate • Collaborative learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning tools: online forum • Asynchronous discussion forum • Teacher can create discussion groups • Teacher could post a question and request students to comment • Students can post their comments • Can encourage community participation • Collaborative learning can be fostered • Feedback from diverse culture 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning tools: web • Wide range of materials available • Teacher will need to narrow down • It is a resource centre • Sharing of resources • Supported by images, audio, simulation and multimedia 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
E-Learning tools: vdo conference • Can conduct a live lecture • Communication with students • Communication with parents • Support by audio, chat and whiteboard • Support sharing of applications • Can be recorded and later be used for on demand lectures • Demo… 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
conclusion • ICT and e-learning offers opportunity to raise educational standards in schools • Large range of ICT tools are available for teaching and learning • Closes the gap of “Digital Divide” • Involvement of teachers and parents is important • Schools will need funding, access and training 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ICT in KM Knowledge Management Program CAMT.CMU Thank you.