1 / 36

ห้องปฏิบัติการวิจัยบูรพาลีนุกซ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

คุยซายน์ : ระบบบริหารจัดการงานวิจัย KuiSci : Research Management Engine. ห้องปฏิบัติการวิจัยบูรพาลีนุกซ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา. หัวข้อการนำเสนอ. ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์ เครือข่ายสังคมคุย การทำงานของคุยซายน์ สถาปัตยกรรมของคุยซายน์ การใช้งานคุยซายน์ขององค์กร

gallia
Download Presentation

ห้องปฏิบัติการวิจัยบูรพาลีนุกซ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คุยซายน์ : ระบบบริหารจัดการงานวิจัย KuiSci : Research ManagementEngine ห้องปฏิบัติการวิจัยบูรพาลีนุกซ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

  2. หัวข้อการนำเสนอ ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์ เครือข่ายสังคมคุย การทำงานของคุยซายน์ สถาปัตยกรรมของคุยซายน์ การใช้งานคุยซายน์ขององค์กร การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัย การขยายผลการใช้งาน

  3. ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์ เครือข่ายสังคมคุย หรือ คุยโซไซตี้ (KuiSociety) • มีรากฐานมาจากโปรแกรมสถาปนาองค์ความรู้ (KUI) • เป็นเครื่องมือสำหรับการจัดการความรู้ในรูปแบบของชุมชนความร่วมมือทางวิชาการ • สร้างสังคมเครือข่ายเพื่อน ไปสู่สังคมเครือข่ายนักวิจัย http://www.kuisociety.net

  4. ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์

  5. ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์ (ต่อ) ความสัมพันธ์ของระบบบริหารงานวิจัย ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยต่างๆ ขององค์กร • ระบบจัดทำเอกสารที่เกี่ยวกับงานวิจัย เช่น สัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย • การจัดการการเบิกเงิน และรับเงินทุนอุดหนุนวิจัย • ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลนักวิจัย (Researcher Database) • ระบบการบริหารจัดการงานวิจัย เช่น NRPM,BIODATA, Thai Researcher บูรณาการข้อมูลให้เป็นองค์ความรู้ และประสานระบบต่างๆ เข้ากับ ระบบบริหารจัดการงานวิจัยขนาดใหญ่

  6. ระบบบริหารงานวิจัย : คุยซายน์ (ต่อ) ผู้ให้ทุน (Funder) • ผู้ขอรับงาน (Responder) • ผู้อ่านผลงาน (Reviewer /Reader) • ผู้ต้องการผลงาน (Caller) • นักวิจัย (Researcher) • ทุน (Funding) • โครงการ (Project) • ตลาดนัดคุยซายน์ (KuiSci Market place)

  7. การทำงานของคุยซายน์

  8. ผู้เสนองาน การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) Call for Proposal ?? ต้องการวิจัยเรื่องเครื่องตรวจสอบลายนิ้วมือ มีงบสำหรับวิจัยให้ 1,500,000 บาท ผู้ขอรับงาน ผู้ขอรับงาน ผู้ขอรับงาน

  9. ผู้เสนองาน การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) Call for Proposal มีผู้ตอบรับและส่งข้อเสนอโครงการมาดังนี้ 1. ------------------------- 2. ------------------------- 3. ------------------------- ?? ผู้ขอรับงาน ผู้ขอรับงาน ผู้ขอรับงาน

  10. ผู้เสนองาน การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) Call for Proposal ผู้ขอรับงาน ?? ผู้ขอรับงาน ผู้ขอรับงาน

  11. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) matching researcher @ @ Call for Proposal สร้างกลุ่มในระบบ เครือข่ายสังคมคุย Opened Project

  12. การทำงานของคุยซายน์

  13. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) การประกาศโครงการ

  14. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) การประกาศทุนวิจัย

  15. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) การเชิญนักวิจัยเพื่อส่งข้อเสนอโครงการ

  16. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) นักวิจัยส่งข้อเสนอโครงการ

  17. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) นักวิจัยส่งข้อเสนอโครงการ (ต่อ)

  18. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) นักวิจัยส่งข้อเสนอโครงการ (ต่อ)

  19. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) การเชิญผู้เชี่ยวเชิญประเมินข้อเสนอโครงการ

  20. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) การเชิญผู้เชี่ยวเชิญประเมินข้อเสนอโครงการ (ต่อ)

  21. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) ผู้เชี่ยวเชิญประเมินข้อเสนอโครงการ และให้คะแนน email

  22. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) Caller คัดเลือกนักวิจัย

  23. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) Caller คัดเลือกนักวิจัย (ต่อ) สร้างกลุ่มในระบบ เครือข่ายสังคมคุย

  24. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ)

  25. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) 2. Research Processing • ใช้เครื่องมือของระบบเครือข่ายสังคมคุย • เป็นซอฟต์แวร์ประเภท Social Software คล้าย Hi5 Facebook • สร้าง BLOG / Bookmark / Albums / Twitter / Files / Mail • สร้างชุมชน / กลุ่มเพื่อน • แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างนักวิจัยภายในกลุ่มกิจกรรม

  26. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) 2. Research Processing • หัวหน้าโครงการรายงานความก้าวหน้า • caller เชิญผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินรายงานความก้าวหน้า • ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนรายงานความก้าวหน้า • ตรวจติดตาม รายงานสถานะการดำเนินงานวิจัย Coming soon….

  27. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ)

  28. การทำงานของคุยซายน์ (ต่อ) 3. Post-processing • รายงานข้อมูล / สถิติ / blacklist • เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกนักวิจัยในปีต่อๆไป Coming soon….

  29. สถาปัตยกรรมของคุยซายน์สถาปัตยกรรมของคุยซายน์ ความสัมพันธ์ของคุยซายน์กับคุยโซไซตี้

  30. สถาปัตยกรรมของคุยซายน์ (ต่อ) การร้องขอบริการผ่านเว็บกับฐานข้อมูลนักวิจัย

  31. การใช้งานคุยซายน์ขององค์กรการใช้งานคุยซายน์ขององค์กร องค์กรที่มีฐานข้อมูลนักวิจัย • RESTful Web Services API • องค์กรสามารถนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากระบบคุยซายน์ไปปรับสถานะ • ฐานข้อมูลนักวิจัยขององค์กร • ศูนย์ประสานงานคุยซายน์ในการให้ความช่วยเหลือ องค์กรที่ไม่มีฐานข้อมูลนักวิจัย • สามารถร้องขอใช้ฐานข้อมูลวิจัย มาตรฐานของคุยซายน์ (Researcher Database) • อัพเดทฐานข้อมูลนักวิจัยอัตโนมัติผ่านคุยซายน์

  32. การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัยการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัย • ปัจจุบันคุยซายน์มีการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัยของหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ • นักเรียนทุนรัฐบาลกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี • มหาวิทยาลัยบูรพา • คณะวิทยาศาสตร์ • คณะวิศวกรรมศาสตร์ • วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา

  33. การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัย (ต่อ) กำลังพัฒนาเพื่อเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

  34. การขยายผลการใช้งาน • ปีงบประมาณ 2553 มีการนำไปใช้จริงกับจำนวนทุนวิจัย 32 โครงการ • ภายใต้กรอบวงเงิน 2,950,000 บาท • ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2554 มีการประกาศทุนวิจัยแล้ว 27 ทุน • ภายใต้กรอบวงเงิน 1,450,000 บาท • ไตรมาสสองของปีงบประมาณ 2554 มีการประกาศทุนวิจัยแล้ว 13 ทุน • ภายใต้กรอบวงเงิน 900,000 บาท

  35. การขยายผลการใช้งาน (ต่อ) • ขยายบริการสู่งานวิจัยในสาขาอื่น • การสนับสนุนนักวิจัยรุ่นเยาว์

  36. ติดต่อศูนย์สนับสนุนคุยซายน์ติดต่อศูนย์สนับสนุนคุยซายน์ • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น7 ศูนย์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKC) • ถนน พระราม6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม 10400 • หมายเลขโทรศัพท์ 02-3333 700 ต่อ 7001 • หมายเลขโทรสาร 023333 887 • E-mail : kuisci.center@gmail.com • ห้องปฏิบัติงานวิจัยบูรพาลีนุกซ์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา • หมายเลขโทรศัพท์ 038-103192 • หมายเลขโทรสาร 038-393202 • Email : bls.callcenter@gmail.com • WebSite : http://bls.buu.c.th

More Related