840 likes | 1.6k Views
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการ เบิกจ่ายเงิน เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553. ค่าใช้จ่าย หมายถึง. 1. รายจ่าย ที่จ่ายในการบริหารงานประจำ ตามอำนาจหน้าที่ 2. รายจ่ายที่เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ประจำ 3. รายจ่ายจากการปฏิบัติหน้าที่ที่ กำหนดไว้ในแผน งป ม.
E N D
ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553
ค่าใช้จ่าย หมายถึง 1. รายจ่ายที่จ่ายในการบริหารงานประจำตามอำนาจหน้าที่ 2. รายจ่ายที่เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ประจำ 3. รายจ่ายจากการปฏิบัติหน้าที่ที่กำหนดไว้ในแผน งปม. 4. รายจ่ายที่เบิกจ่ายจากงบดำเนินงานลักษณะค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุและ ค่าสาธารณูปโภค 5. รวมทั้งรายจ่ายที่เกิดจากภารกิจที่ได้รับมอบหมาย จากคณะรัฐมนตรี หน.ส่วนฯ พิจารณาอนุมัติเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด
หลักการใช้ดุลยพินิจ กฎหมายให้อำนาจหรือไม่ ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการและ ประชาชนเป็นหลัก 3. กระบวนการต้องชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและ มติครม. หรือ กค.อนุญาตจ่าย
หลักฐานการจ่าย หลักฐานการเบิกจ่ายให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและ การนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551
การเบิกค่าใช้จ่ายในการบริหารงานการเบิกค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน • คชจ.เดินทางไปราชการ • คชจ.ฝึกอบรม การจัดงานและการประชุม • ระหว่างประเทศ • เบี้ยประชุมกรรมการ • เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ • ค่าเช่ารถยนต์มาใช้ในราชการ • การประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ • การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ • ค่าตอบแทนคกก.ตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงาน • คชจ.เกี่ยวกับการสอบแข่งขันบุคคลที่เป็น • เจ้าหน้าที่ของรัฐที่หักจากเงินค่าเนียมการนั้น ค่าใช้จ่ายที่มี กม. ระเบียบข้อบังคับ มติครม. หนังสือเวียน ที่กำหนดเฉพาะ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานที่หัวหน้าส่วนราชการใช้ดุลยพินิจค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานที่หัวหน้าส่วนราชการใช้ดุลยพินิจ • ค่าตอบแทนล่ามในการแปลภาษาท้องถิ่น ภาษาต่างประเทศ หรือภาษามือ • ค่าตอบแทนในการแปลหนังสือ หรือเอกสาร • ค่าตอบแทนในการจัดหรือสำรวจข้อมูล เฉพาะในช่วงระยะเวลาที่มีการ • จัดเก็บหรือสำรวจข้อมูล ผู้แปล หรือผู้สำรวจข้อมูล เป็น จนท.ของส่วนราชการนั้นที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ไม่ให้ได้รับค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายได้ ตามความจำเป็น เหมาะสมประหยัด และ เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเกี่ยวกับจ่ายค่าตอบแทนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเกี่ยวกับจ่ายค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายสำหรับบุคคลภายนอกที่ปฏิบัติงานให้ส่วนราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด (ค่าตอบแทนที่จ่ายให้บุคคลภายนอก คือ คชจ.ตามกฤษฏีกาเดินทาง)
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ผู้มีสิทธิ จากเงิน งปม. ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว พนักงานราชการ ผู้รับจ้างเหมาบริการ(ตามเงื่อนไขสัญญา)
ลักษณะงานนอกเวลาราชการลักษณะงานนอกเวลาราชการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาผลัด / กะ เวลาราชการ เวลาระหว่าง 08.30-16.30 น. ของวันทำการ รวมถึงช่วงเวลา อื่นที่กำหนดให้ข้าราชการในสังกัดปฏิบัติงานเป็นผลัดหรือกะ วันทำการจันทร์-ศุกร์ และรวมถึงวันทำการที่ส่วนราชการ กำหนดเป็นอย่างอื่น
การปฏิบัติงานเป็นกะหรือผลัด หมายถึง การปฏิบัติงานประจำตามหน้าที่ปกติของ ขรก. ในส่วนราชการนั้น ๆ ซึ่งจัดให้มีการปฏิบัติงานผลัด เปลี่ยนหมุนเวียนกันตลอด 24 ชั่วโมง ในช่วงเวลาที่ปฏิบัติงานดังกล่าวซึ่งถือเป็นเวลาราชการปกติของ ขรก.ผู้นั้น ทั้งนี้ การปฏิบัติงานในผลัดหรือกะหนึ่ง ๆ ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง (ไม่รวมเวลาหยุดพัก)
หลักเกณฑ์ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกตินอกเวลาราชการ ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อนโดยพิจารณาช่วง จำเป็น และคำนึงถึงความเหมาะสมและสอด คล้องกับระบบและวิธีการจัดการงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ กรณีเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลา โดยยังไม่ ได้รับอนุมัติให้รีบขออนุมัติโดยไม่ชักช้าและให้แจ้ง เหตุผลความจำเป็นที่ไม่อาจขออนุมัติก่อนได้
หลักเกณฑ์ • ข้าราชการผู้ได้รับคำสั่งให้เดินทาง ไปราชการไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนนอกเวลาราชการ เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการก่อนการเดินทาง เมื่อการเดินทางไปราชการนั้นเสร็จสิ้นหรือเสร็จสิ้นการฝึกอบรมในแต่ • ละวันกลับถึงสำนักงานในวันเดียวกัน ให้เบิกค่าตอบ • แทนได้
กรณีมีความจำเป็นต้องปฏิบัติงานซึ่งเป็นภารกิจหลักของหน่วยงานเป็นครั้งคราวหรือเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มอบหมายให้หน่วยงานปฏิบัติ โดยมีกำหนดระยะเวลาแน่นอนและมีลักษณะเร่งด่วน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ราชการหรือประโยชน์สาธารณะ หัวหน้าส่วนราชการอาจสั่งการให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการติดต่อกัน โดยให้มีสิทธิเบิกเงินตอบแทนเป็นรายครั้งไม่เกินครั้งละ 7 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท
การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายช่วงเวลาภายในวันเดียวกันให้นับเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการทุกช่วงเวลารวมกัน เพื่อเบิกเงินตอบแทนสำหรับวันนั้น การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการที่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนอื่นของทางราชการสำหรับการปฏิบัติงานนั้นแล้ว ให้เบิกได้ทางเดียว
เบิกไม่ได้ อยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัยแห่งชาติหรือตามระเบียบหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็ม จำนวนชั่วโมง
การควบคุมดูแล กรณีมีผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการร่วมกัน หลายคนให้คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รับรองการ ปฏิบัติงาน กรณีมีผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการคนเดียว ให้ผู้นั้นเป็นผู้รับรอง
การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการ สำหรับลูกจ้างชั่วคราว ที่ได้รับค่าจ้างจากเงินบำรุง สามารถเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด แต่ ต้องเบิกจ่ายจากเงินบำรุง
ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมงานพระราชพิธี รัฐพิธี หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค.0406.6/ว 218 ลว. 29 มิย.53 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนในการเข้าร่วมงานพระราชพิธี รัฐพิธี ตามมติครม. เมื่อวันที่ 1 มีค.2503 เรื่องความรับผิดชอบในการ สั่งงานนอกเหนือหน้าที่ ให้ถือว่าการสั่งการปฏิบัติในงานราชพิธี งานรัฐพิธี การจัดงานต่างๆ ที่ทางราชการจัดขึ้นตามแบบธรรมเนียมประเพณี และงานกุศลสาธารณะเป็นการปฏิบัติราชการ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวไม่ได้เกิดจากการดำเนินงานตามภารกิจไม่สามารถ เบิกจ่ายได้ เพื่อมิให้ผู้รับมอบต้องรับภาระและเป็นขวัญกำลังใจ มติครม. จึงอนุมัติให้เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตามระเบียบ กระทรวงการคลังโดยอนุโลม
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง กระทรวงการคลังอนุมัติให้ สป. เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงาน งานนอกเวลาราชการให้เจ้าที่ที่ออกปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับ ผิดชอบนอกที่ตั้งสำนักงานได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2536 (ปัจจุบันปี 50) ตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ตามหนังสือ กค 0409.7/29071 ว. 18 ตค. 48
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง • งานภารกิจที่รับผิดชอบ ซึ่งเป็นงาน งานส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน • เช่น • ออกตรวจแหล่งแพร่เชื้อในสถานบันเทิง • ออกตรวจสารตกค้างในอาหารที่ตลาดสด • การอยู่ร่วมกับด่านตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์และสารเสพติด • การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ • การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังเวลาราชการ หรือ • ออกรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ • และงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ควบคุม และป้องกันโรค
อัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการอัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตามข้อหารือการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานนอกเวลา ที่ สธ 0201.046.1/20810 ลว. 19 ธันวาคม 2551 อัตราการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด
ที่ กค0406.4/ว.18 ลว 27 กพ.51 เรื่อง การจ่ายค่าตอบแทนกรรมตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานก่อสร้าง หลักเกณฑ์การจ่าย บุคคลภายนอกและข้าราชการที่ได้รับแต่งให้เป็น ค.ตรวจการจ้างหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ข้าราชการต้องไม่ดำรงตำแหน่งมีหน้าที่ตรวจ การจ้างหรือควบคุมงานก่อสร้าง เช่นวิศวกรโยธา ก.พ.กำหนดให้มีหน้าที่ลักษณะงานเกี่ยวกับการ ออกแบบ และได้รับมอบหมายปฏิบัติหน้าที่ตรวจ การจ้าง/ควบคุมงาน ประจำในหน่วยงาน ก็ไม่มี สิทธิได้รับค่าตอบ
หลักเกณฑ์การจ่าย ในวันเดียวกันกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ ควบคุมงาน มีสิทธิเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติ งานนอกเวลา ถ้าจะเบิกค่าตอบแทนตามสิทธินี้ ต้องงดเบิกนอกเวลาราชการ การเบิกค่าตอบแทนนี้ไม่กระทบสิทธิการเบิก คชจ.เดินทางไปราชการ
อัตราการจ่าย กรรมการตรวจการจ้าง เบิกได้ไม่เกิน 350 บาท/คน/วัน กรณีคณะกรรมการตรวจการจ้างปฏิบัติหน้าที่ใน ลักษณะการประชุมเพื่อพิจารณารูปแบบหรือราย ละเอียดของงานก่อสร้างให้ได้รับเบี้ยประชุมตามหลัก เกณฑ์และอัตรา พรฎ.เบี้ยประชุมกรรมการ พ.ศ. 2547 หน.ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง 350 บาท/วัน/งาน ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง (ผู้ปฏิบัติ) 300 บาท/วัน/งาน กรณีบุคคลภายนอกมิใช่บุคลากรของรัฐให้ได้รับเพิ่ม อีก 1 เท่า และหน.ส่วนสามารถกำหนดหลักเกณฑ์การจ่าย ค่าตอบแทนเป็นการภายในได้
การเบิกค่าเบี้ยประชุมกรรมการการเบิกค่าเบี้ยประชุมกรรมการ สิทธิการเบิก คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ไม่ใช้โดยระเบียบหรือคำสั่งภายใน เช่น คณะกรรมการ คตป หรือคณะกรรมการ/อนุมกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งโดยตำแหน่ง หรือคณะกรรมการต่างตามระเบียบพัสดุ ถือว่าได้รับแต่งตั้งโดย กฎหมาย
พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมกรรมการ (ฉบับที่ 3) ประกาศ 27 พฤศจิกายน 55 มีผลวันถัดจากวันประกาศ คณะกรรมการ หมายความว่า คณะกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและ กำหนดองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ไว้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกาศพระบรมราชโองการ หรือระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งออก ตามกม.ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือโดยประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการที่แต่งตั้งตามระเบียบ พัสดุจึงไม่มีสิทธิเบิกค่าเบี้ยประชุมเนื่องจาก การแต่งตั้ง คกก.ตามระเบียบพัสดุ ไม่ได้กำหนดองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ไว้ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
การทำประกันภัยกับภาคราชการการทำประกันภัยกับภาคราชการ รถราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ภาคบังคับส่วนราชการต้องจัดทำประกันภัย ตาม พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยฯ ภาคสมัครใจพิจารณาตามความจำเป็น เหมาะสมกับภารกิจ เสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง การจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ
หลักเกณฑ์การทำประกันภัยรถราชการหลักเกณฑ์การทำประกันภัยรถราชการ 1. ต้องเป็นรถราชการส่วนกลางที่ใช้ในภารกิจของหน่วยงานนั้น 2. ลักษณะการใช้รถมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 3. ต้องมีงปม.เพียงพอโดยไม่ขอตั้งงปม.เพิ่มเติมเพื่อการนี้ 4. มีเหตุจำเป็นนอกเหนือ ให้เสนอขออนุมัติเฉพาะกรณี จาก คกก.กลั่นกรองการจัดเอกประกันภัย
รถราชการที่จัดทำประกันภัยได้รถราชการที่จัดทำประกันภัยได้ • รถราชการในเขตพื้นที่ 3 จว.ชายแดนภาคใต้ • จดทะเบียนในพื้นที่ เฉพาะเหตุการณ์ไม่ปกติ 2. รถราชการที่มีลักษณะการใช้งานในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น รถพยาบาล รถยนต์ฉุกเฉิน รถดับเพลิง 3. รถราชการในลักษณะรถโดยสาร จำนวนตั้งแต่ 20 ที่นั่งขึ้นไป 4. หรือร้อยละ 15 ของจำนวนรถราชการที่ใช้งานในปัจจุบัน ทั้งนี้ให้หน.ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสมของหน่วยงานนั้น
การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดประชุม เช่น ค่าเช่าห้องประชุม ค่าดอกไม้ตกแต่งสถานที่
หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค.0406.4/840 ลว. 16 มกราคม 56 เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าแรงขั้นต่ำ ครม. ให้ความเห็นชอบปรับปรุงมาตรการประหยัดเมื่อปี 2552 ตามมติเมื่อ วันที่ 8 มกราคม 2556 ดังนี้ • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการฝึกอบรมและการจัดประชุม • อบรม/ประชุม ในสถานที่ราชการ เบิกได้ไม่เกิน 35 บาท/มื้อ/คน • อบรม/ประชุม ในสถานที่เอกชน เบิกได้ไม่เกิน 50 บาท/มื้อ/คน • ค่าอาหารในการจัดประชุม • ประชุมสถานที่ราชการเบิกได้ไม่เกิน 120 บาท/มื้อ/คน • อบรมสถานที่ราชการ เบิกได้ไม่เกิน 150 บาท/มื้อ/คน (มาตรการเดิม) การจัดประชุมขอความร่วมมือจัดในสถานที่ราชการ
เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด ให้เจ้าหน้าที่จัดการประชุมเป็นผู้รับรองการจัดประชุม และ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม เป็นหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย
ค่าใช้สอยที่เป็นค่าใช้จ่ายค่าใช้สอยที่เป็นค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงานตามภารกิจปกติ (ข้อ 12) หรือตามนโยบาย ตาม ว. 96 ลว 16 กย 53 ที่กำหนดในระเบียบนี้ หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายได้ ตามความจำเป็น เหมาะสมประหยัด และ เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรับเสด็จ ส่งเสด็จ ค่าจ้างเอกชนดำเนินงาน 3. ค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่ หรือการประชาสัมพันธ์ งานของส่วนราชการ 4. ค่าพานพุ่มดอกไม้ พานประดับพุ่มดอกไม้ พานพุ่มเงิน พุ่มทอง กรวยดอกไม้พวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้า ดอกไม้ หรือพวงมาลา สำหรับวางอนุสาวรีย์ หรือใช้ใน การจัดงานเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสต่างๆ ค่าหรีด หรือพวงมาลาสำหรับสักการะศพให้เบิกจ่าย ในนามของส่วนราชการเป็นส่วนรวม เฉพาะสักการะศพ ผู้ที่เคยให้ความช่วยเหลือหรือเป็นผู้เคยทำประโยชน์ให้ ประเทศหรือ ส่วนราชการจนเป็นที่ประจักษ์ชัด
5. ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมราชการ และประชุมทางไกล ผ่านดาวเทียม เช่น ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ในกรณีที่มีการประชุมคาบเกี่ยวมื้ออาหาร และจำเป็นต้อง จัด ค่าเช่าห้องประชุม ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็น 6. ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่มสำหรับหน่วยงานอื่นหรือ บุคคลภายนอกเข้าดูงานหรือเยี่ยมชมส่วนราชการ หรือ การตรวจเยี่ยมหรือตรวจราชการตามภารกิจปกติ ของบุคลากรภายในส่วนราชการ การแถลงข่าว การมอบ เงินหรือสิ่งของบริจาค
7. ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินที่เกิดจากการเสื่อมสภาพหรือชำรุด เสียหายจาการใช้งานปกติ ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายที่ไม่ได้เกิด จากการเสื่อมสภาพหรือ ชำรุดจากการใช้งานตามปกติ เมื่อจ่ายไปแล้วให้ดำเนินการหาผู้รับผิดทางละเมิด 8.ค่าของขวัญหรือของที่ระลึกที่มอบให้ชาวต่างประเทศ กรณีไปราชการต่างประเทศ/กรณีชาวต่างประเทศมาไทย ในนามของส่วนราชการส่วนรวม ค่าของขวัญหรือของที่ระลึกมอบให้หน่วยงานที่ให้ความ ช่วยเหลือ หรือ กรณีเยี่ยมชมส่วนราชการในนามของ ส่วนราชการส่วนรวม
9. ค่าโล่ ใบประกาศเกียรติคุณ ค่ากรอบใบประกาศเกียรติคุณ ของขวัญ ของรางวัล ของที่ระลึกสำหรับขรก.หรือ ล/จ ประจำที่เกษียณอายุ หรือผู้ให้ความช่วยเหลือหรือควรได้ รับการยกย่องจากทางราชการ ค่าใช้จ่ายจัดทำเว็บไซต์ และส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องในการ จัดทำเว็บไซต์ ค่าธรรมเนียมในการคืนบัตร เปลี่ยนบัตรโดยสารพาหนะ ในการเดินทางหรือค่าบัตรโดยสารที่ไม่สามารถคืนหรือ เปลี่ยนได้กรณีเลื่อนการเดินทางกรณีส่วนราชการสั่ง ให้งด หรือเลื่อนการเดินทางและรวมถึงเหตุสุดวิสัยอื่นๆ ที่ไม่ได้เกิดจากตัวผู้เดินทางเป็นเหตุ
ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ที่มิใช่ค่าธรรมเนียมธนาคาร เกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางการเงิน ข้อ 18(5) ของระเบียบ คชจ.บริหาร ปี 53 ค่าใช้บริการอินเทอร์เน็ตของผู้เดินทางไปราชการ เพื่อประโยชน์ของทางราชการ 14.ค่าใช้จ่ายในการใช้สถานที่ชั่วคราวของส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ 15. ค่าใช้จ่ายในการประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ของ ส่วนราชการ
16. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการกำจัดแมลง หนู หรือสัตว์ที่เป็น พาหะนำโรค หรือ การกำจัดเชื้อโรคหรือเชื้อราตามส่วน ราชการหรือบ้านพักทางราชการ 17.ค่าอาหารสำหรับผู้ป่วยสามัญ ผู้ป่วยโรคเรื้อน หรือผู้ถูก คุมขัง คุมประพฤติ หรืออาหาร นม อาหารเสริม สำหรับ เด็กที่อยู่ในการสงเคราะห์ของทางราชการ 18. ค่าใช้จ่ายในการเป็นสมาชิกหรือการจัดซื้อหนังสือ จุลสาร วารสาร หนังสือพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ใน ราชการโดยส่วนรวม
ค่าบริการในการกำจัดสิ่งปฏิกูล จัดเก็บขยะของส่วน ราชการ หรือบ้านของราชการกรณีไม่มีผู้พักอาศัย ค่าผ่านทางด่วนพิเศษ ค่าบริการจอดรถในการเดินทาง ไปปฏิบัติราชการ สำหรับ รถราชการ รถส่วนตัวของผู้ได้รับค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนรถ ประจำตำแหน่ง 21. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดผลิตรายการและถ่ายทอดทาง สถานีโทรทัศน์ วิทยุ
22. ค่าพาหนะกรณีได้รับมอบหมายให้เดินทางไปปฏิบัติ ราชการ ซึ่งส่วนราชการไม่สามารถจัดรถยนต์ ส่วนกลางให้ได้ 23. ค่าตรวจสอบเพื่อการรับรองระบบการทำงานหรือ มาตรฐานการทำงาน 24. ค่าระวาง บรรทุก ขนส่งพัสดุหรือพัสดุภัณฑ์ของ ส่วนราชการ ยกเว้น ค่าระวาง บรรทุกขนส่งพัสดุใน การฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม ระหว่างประเทศ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดจากการใช้พัสดุที่ยืมจาก หน่วยงานอื่น เพื่อใช้ปฏิบัติราชการกรณีจำเป็น เร่งด่วนเป็นการชั่วคราว ค่าตรวจร่างกายของบุคลากรเพื่อตรวจสอบหาสาร กัมมันตภาพรังสี และเชื้อเอชไอวีจากการปฏิบัติงาน ตามภารกิจและไม่ถือเป็นสวัสดิการการรักษาพยาบาล ค่ารักษาพยาบาลสัตว์และค่าตรวจสุขภาพสัตว์ สำหรับหน่วยงานที่มีภารกิจปกติในการดูแลสัตว์
การจ่ายค่าใช้สอย ห้ามเบิกจ่าย ค่าจัดทำสมุดบันทึก สมุดฉีก หรือของชำร่วย เนื่องในโอกาสต่าง ๆ ค่าพิมพ์ ค่าส่ง สำหรับบัตรอวยพรในเทศกาลต่างๆ และค่าพิมพ์นามบัตรให้กับบุคลากร ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ ของขวัญ ของเยี่ยม มอบให้กับ ส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน บุคคล เนื่องในโอกาสต่างๆ ค่าทิป เงินหรือสิ่งของบริจาค ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ หรือการจัดกิจกรรม นันทนาการภายในส่วนราชการ
ค่าใช้จ่ายที่กำหนดโดยมติ ครม. ค่าเช่าอาคารปฏิบัติงาน/เก็บเอกสารหรือพัสดุต่างๆ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท/ตรม./เดือน กรณีจำเป็นให้จ่ายได้ไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน ค่าเช่าที่ดิน เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 50,000บาท/เดือน หากจำเป็นต้องเบิกจ่ายเกินอัตราที่กำหนดให้ หน.ส่วนราชการเบิกจ่ายเท่าที่ จ่ายจริงไม่เกินอัตราท้องตลาด และบันทึกเหตุผลที่ต้องเบิกจ่ายในอัตรานั้นด้วย
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีในชั้นศาล การระงัดข้อพิพาท โดยอนุญาโตตุลาการให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่าย เท่าที่จ่ายจริง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทนที่ผู้เสียหายยื่นคำขอ ให้ส่วนราชการชดใช้ กรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐได้กระทำ ละเมิดต่อบุคคลภายนอกในการปฏิบัติหน้าที่ให้หัวหน้า ส่วนราชการเบิกจ่ายโดยปฏิบัติตามกฎหมายและ ระเบียบว่าด้วยการนั้น
การจ่ายค่าวัสดุ ให้เบิกจ่ายตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ของสำนักงบประมาณ และเบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ค่าเครื่องแบบ เครื่องแต่งกายที่จัดให้เจ้าหน้าที่ไว้ใช้ในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ ค่าเครื่องแบบยามรักษาการณ์ ค่าวัสดุที่ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงาน จ่ายตามหลักเกณฑ์ที่ กค.กำหนดหรือ ได้รับอนุมัติจาก กค.
การจ่ายค่าสาธารณูปโภคการจ่ายค่าสาธารณูปโภค • ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ ค่าโทรศัพท์ ของส่วนราชการและบ้านพัก • ที่ไม่มีผู้พักอาศัยให้จ่ายเท่าที่จ่ายจริง กรณีมีผู้พักอาศัยก็ให้จ่าย • ตามมติครม. หรือตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด • ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าฝากส่งไปรษณีย์ ค่าบริการไปรษณีย์ตอบรับ • ค่าดวงตราไปรษณีย์หรือค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ • ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ • ระบบและค่าใช้จ่ายบริการอินเทอร์เน็ต ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่อง • สัญญาณดาวเทียม ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม ค่าวิทยุสื่อสาร • วิทยุติดตามตัว • ค่าเช่าพื้นที่เว็บไซต์ และค่าธรรมที่เกี่ยวข้อง • ค่าธรรมเนียมธนาคารเกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางการเงินที่มิ • ใช่เป็นการร้องขอของผู้มีสิทธิรับเงิน ข้อ 18(5) • (เป็นคชจ.ที่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมรายเดือนที่ธ.เรียกเก็บ)
มติคณะรัฐมนตรี การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ วันที่ 24 สิงหาคม 53 และ 4 มีนาคม 54 โทรศัพท์พื้นฐานประจำสถานที่ทางราชการ โทรศัพท์พื้นฐานประจำบ้านพัก โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ใช้เป็นส่วนกลาง โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) มอบให้ข้าราชการถือครอง
หลักเกณฑ์การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการหลักเกณฑ์การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ โทรศัพท์พื้นฐานประจำสถานที่ทางราชการ • การอนุมัติจัดหา ติดตั้ง ย้าย ควบคุมการใช้ • เป็นดุลพินิจหัวหน้าส่วนราชการ • การใช้โทรศัพท์ทางไกลเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงาน • ต้องได้รับอนุมัติ • การใช้โทรศัพท์โทรทางไกลเพื่อติดต่อกิจธุระส่วนตัว • ต้องได้รับอนุมัติ และผู้ใช้ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น • เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง และต้องมีทะเบียนควบคุมการใช้
หลักเกณฑ์การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการหลักเกณฑ์การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ โทรศัพท์พื้นฐานประจำบ้านพักราชการและบ้านพักส่วนตัว • พิจารณาติดตั้งเฉพาะขรก.ผู้ดำรงตำแหน่งที่ต้องติดต่อราชการนอก • เวลาราชการเป็นการประจำ ติดตั้งประจำบ้านพักของทางราชการและ • บ้านพักส่วนตัว • ตำแหน่งผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไป • การพิจารณาติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐานบ้านพักหากผู้นั้นได้รับโทรศัพท์ถือ • ครองแล้วให้พิจารณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง • วงเงินการใช้โทรศัพท์แบบเหมา คือ ค่าเช่าเลขหมายและค่าใช้บริการใดๆ • ไม่เกินคนละ 400 บาท ต่อเดือน • หลักฐานการจ่ายกรณีบ้านพักส่วนตัวให้ใช้ใบเสร็จที่ออกในนามเจ้าของบ้าน • หากข้าราชการผู้ได้รับโทรศัพท์พ้นตำแหน่งและประสงค์ขอโอนโทรศัพท์ • บ้านพักที่เคยใช้เป็นโทรศัพท์ส่วนตัวได้