300 likes | 496 Views
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) พัฒนา ระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล. 3 ทางเลือกในการบริหารจัดการด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. ชุดงาน บูรณา การ. กิจกรรมสำคัญ. งานสำคัญ. ประชาชนจัดการตนเองได้. ตั้งต้นด้วยค่ากลางความสำเร็จกำหนดโดยเขต. ตั้งต้นด้วยค่ากลางกำหนดโดยจังหวัด.
E N D
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) พัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล
3 ทางเลือกในการบริหารจัดการด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ชุดงานบูรณาการ กิจกรรมสำคัญ งานสำคัญ ประชาชนจัดการตนเองได้ ตั้งต้นด้วยค่ากลางความสำเร็จกำหนดโดยเขต ตั้งต้นด้วยค่ากลางกำหนดโดยจังหวัด ตั้งต้นอย่างเต็มรูปแบบ
กำหนดกิจกรรมสำคัญในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กำหนดกิจกรรมสำคัญในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ในการจัดการค่ากลาง
ค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุน ค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุน งานสนับสนุน งานโครงการ กิจกรรมในโครงการ
การสนับสนุนโครงการของพื้นที่โดยหน่วยงานระดับเขต/ภาค กิจกรรมของโครงการในพื้นที่ตาม SLM กิจกรรมที่ เขต/ภาคสนับสนุน
บทบาทของจังหวัด เขต/ภาค ในการสนับสนุนฝ่ายปฏิบัติ กิจกรรมของเขต/ภาค/สสจ
3 ทางเลือกในการบริหารจัดการด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ชุดงานบูรณาการ กิจกรรมสำคัญ งานสำคัญ ประชาชนจัดการตนเองได้ ตั้งต้นด้วยค่ากลางความสำเร็จกำหนดโดยเขต ตั้งต้นด้วยค่ากลางกำหนดโดยจังหวัด ตั้งต้นอย่างเต็มรูปแบบ
การบูรณาการงานพัฒนาสุขภาพการบูรณาการงานพัฒนาสุขภาพ เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล
แบบที่ 1 : บูรณาการงานของฝ่ายปฏิบัติกับฝ่ายสนับสนุนภายในประเด็นเดียวกัน
การบูรณาการงานของหน่วยงานเขต/ภาคกับฝ่ายปฏิบัติภายในประเด็นเดียวกันการบูรณาการงานของหน่วยงานเขต/ภาคกับฝ่ายปฏิบัติภายในประเด็นเดียวกัน งานสนับสนุน ของ เขต/ภาค สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ SRM/ ค่ากลาง จัดการเป้าหมาย/สภาวะแวดล้อม เฝ้าระวัง/คัดกรอง ใช้มาตรการสังคม ปรับแผนท้องถิ่น/ตำบล
บทบาทการปรับทิศทางระบบสาธารณสุขบทบาทการปรับทิศทางระบบสาธารณสุข แบบที่ 2 : บูรณาการระหว่างประเด็นปัญหา (ที่มีความสัมพันธ์กัน)
แบบที่ 2 : บูรณาการงานที่มุ่งสู่กลุ่มเป้าหมายกับงานที่มุ่งสู่สภาวะแวดล้อม ประเด็นสำหรับการประชุมนี้คืออะไร? 2
ตารางบูรณาการกิจกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมายกับสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมายเข้าด้วยกันตารางบูรณาการกิจกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมายกับสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมายเข้าด้วยกัน คุ้มครองผู้บริโภค เบาหวาน/ความดันฯ พืชอาหารปลอดภัย ชุมชน(3ก)เข้มแข็ง กิจกรรม โครงการ (1 ปี) โภชนาการ บูรณาการงานประเภทเดียวกันของหน่วยงานต่างๆเข้าด้วยกัน ปฏิบัติพร้อมกัน เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ งานสำรวจค่ากลาง 1. การใช้แผนที่ฯและค่ากลาง บูรณาการงานประเภทเดียวกันของหน่วยงานต่างๆเข้าด้วยกัน ปฏิบัติพร้อมกัน เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ 2. การเฝ้าระวัง/คัดกรอง งานเฝ้าระวัง/คัดกรอง 3. การใช้มาตรการทางสังคม • บรรจุงานลงในช่องต่างๆ • ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่องแล้ว • บูรณาการ • ใช้ข้อมูลจากตารางนี้สร้างตาราง 11 ช่องเพื่อกำหนดรายละเอียด 4. การปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล 5. การจัดการกลุ่มเป้าหมายและ สภาวะแวดล้อม 6. การสื่อสาร/สาระสนเทศ แผนงาน 2-4 ปี
แบบที่ 3 การบูรณาการงานของฝ่ายสนับสนุนต่างองค์กรเข้าด้วยกัน
แบบที่ 3 : บูรณาการงานของฝ่ายสนับสนุนต่างองค์กรเข้าด้วยกัน 2 3
ตารางบูรณาการกิจกรรมสนับสนุนของหน่วยงานระดับเขต/ภาค ศูนย์สุขภาพจิตเขตฯ โครงการ 1 ปี กิจกรรม ศูนย์อนามัยเขตฯ ศูนย์ฯสช.ภาค ศูนย์วพ.เขตฯ สปสช.เขตฯ สคร. เขตฯ บูรณาการงานประเภทเดียวกันของหน่วยงานต่างๆเข้าด้วยกัน ปฏิบัติพร้อมกัน เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ 1. การประเมินผล/ เสนอนโยบาย 2. ช่วยเหลือเรื่องการใช้ SRM/ ค่ากลาง • บรรจุงานสนับสนุนลงในช่องต่างๆ • ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง • แล้วบูรณาการงานเข้าด้วยกันเป็น • รายกิจกรรม 3. พัฒนาสมรรถนะแกนนำภาครัฐ/ ประชาชน 4. สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม 5. สนับสนุนการสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6. เผยแพร่ต้นแบบ แผนงาน 2-4 ปี
จังหวัดใช้ค่ากลางของความสำเร็จปรับทิศทางการพัฒนาจังหวัดใช้ค่ากลางของความสำเร็จปรับทิศทางการพัฒนา ของภาคประชาชน รพสต อสม ท้องถิ่น ท้องที่ ค้นหาค่ากลางของความสำเร็จระดับเขต กองทุน สร้างกลไกส่งผ่านความสำเร็จ
หาค่ากลาง หน่วยงานระดับเขตต่างๆ
จะเดินหน้าอย่างไร? • เริ่มที่ระดับเขตก่อน หน่วยงานสนับสนุนทุกสังกัดใช้กรอบกิจกรรมสนับสนุนชุดเดียวกันทำการวิเคราะห์ค่ากลางของงานสนับสนุนในปัจจุบัน • หน่วยงานเขตทุกสังกัดพร้อมกันจัดประชุมปฏิบัติการกับฝ่ายปฏิบัติจากพื้นที่ๆมีความสำเร็จในโครงการ... ค้นหาค่ากลางของความสำเร็จ...เจรจาความร่วมมือ... ได้งานสนับสนุนที่สอดคล้องกับความต้องการของฝ่ายปฏิบัติ • บูรณาการงานสนับสนุนตามลักษณะความสัมพันธ์ของประเด็นปัญหา(แบบที่ 3)
ฝ่ายปฏิบัติและฝ่ายสนับสนุนสร้างโครงการจากกิจกรรมที่ปรับเข้าหากันฝ่ายปฏิบัติและฝ่ายสนับสนุนสร้างโครงการจากกิจกรรมที่ปรับเข้าหากัน กิจกรรมของโครงการในพื้นที่ตาม SLM กิจกรรมที่ เขต/ภาคสนับสนุน
โครงการของฝ่ายปฏิบัติสร้างจากกิจกรรมสำคัญ (Activity-based Project Formulation) ปรับกระบวนการด้วยโครงการกิจกรรมสำคัญทั้ง 7 ใช้การจัดการค่ากลางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
หน่วยงานเขต/ภาคใช้กิจกรรมสนับสนุนทำการบูรณาการบทบาท บูรณาการงานในกิจกรรมสนับสนุน
กลไกส่งผ่านความสำเร็จสู่แผนสุขภาพของประชาชนกลไกส่งผ่านความสำเร็จสู่แผนสุขภาพของประชาชน กำหนด ปรับปรุง จัดการ
โครงสร้างการสนับสนุนของหน่วยงานระดับต่างๆโครงสร้างการสนับสนุนของหน่วยงานระดับต่างๆ ความต้องการสนับสนุน จากโครงการภาคประชาชน เจรจาความร่วมมือ การสนับสนุนวิชาการจากภาครัฐ
จะเดินหน้าอย่างไร? • รับทราบข้อมูลความต้องการสนับสนุนผ่านระบบกองทุนฯตำบล สร้างโครงการสนับสนุนของแต่ละหน่วยงานฯ • ส่งผ่านการสนับสนุนทางระบบงานของ สสจ. จนถึงพื้นที่ • ติดตาม สนับสนุน/ประเมินผล เน้นที่ (1) ลักษณะและการดำเนินงานของแผนงาน/โครงการของท้องถิ่น/ตำบล/ กองทุนฯ / ประชาชน (2) การจัดการกลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม ส่วนกิจกรรมที่เหลือประเมินผ่านแผนงานโครงการในข้อ(1) • สำนักตรวจราชการเขตเป็นเจ้าของโครงการนี้ และให้มีคณะทำงานระหว่างหน่วยงานเขตเป็นเลขานุการ
ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.amornsrm.net ขอขอบคุณ