410 likes | 484 Views
การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท. วันที่ 31 สิงหาคม 2547 ณ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท 27 ตัวชี้วัด. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ. โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการด้าน IT. 14.
E N D
การนำเสนอผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาทการนำเสนอผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท วันที่ 31 สิงหาคม 2547 ณ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท27 ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ
โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการด้าน IT 14 ตัวชี้วัดที่ 1.1:ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้า อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าอุตสาหกรรม) หน่วยการใช้ไฟฟ้า เสริมสร้างทักษะบริหารจัดการและเพิ่มกำลังการผลิต กลุ่มเครือข่ายผลิตภัณฑ์ผักตบชวา 13 หน่วย=บาท 5 0 โครงการประหยัดพลังงานให้กับภาคอุตสาหกรรม 12 ประชุมกลุ่มผู้ประกอบการที่มีผลด้านเศรษฐกิจของจังหวัด 11 136,754,592 131,499,800 118,889,055 โครงการ 5 ส.สู่โครงการอุตสาหกรรม 10 การศึกษาดูงานเพิ่มมูลค่าโครงการแปรรูปอาหารจากข้าว 9 ฐาน ผล เป้า ตรวจติดตามหมวกนิรภัยตามร้านจำหน่ายเพื่อตรวจแนะนำ 8 โครงการยกระดับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา 7 หน่วย=ยูนิต หน่วยการใช้ไฟฟ้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารจากไก่โรงงานอุตสาหกรรม 6 โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การจัดการของโรงสีข้าว 5 51,412,581 53,468,084 50,981,895 อบรมอาชีพสร้างกี่กระตุก 4 อบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาให้กลุ่มแม่บ้าน 3 สร้างความรู้เรื่องการขอ มผช 2 ฐาน ผล เป้า ผล=ถึง 31 ก.ค.47 หน่วยงานรับผิดชอบเร่งรัดจัดเก็บข้อมูล 1
บูรณาการการทำงานภาคราชการ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องให้บรรลุตัวชี้วัด 6 ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านจักรกลการเกษตร 5 ส่งเสริมและให้ความรู้ในการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์/ ผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย 4 ฟื้นฟู ปรับปรุง บำรุงดินและอบรมหมอดินอาสา 3 บริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ ของเกษตรกร 2 ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและ เกษตรกรรม(สินค้าเกษตรกรรม) 5 0 ล้านบาท 2,641,225,842 2,586,963,345 2,487,464,755 ผล ฐาน เป้า ปัญหา/อุปสรรค 1.เกษตรกรไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าเกษตร/ การแพร่ระบาดของของศัตรูพืช 2.เกษตรกรไม่มีที่ทำกินของตนเอง/ปัญหาหนี้สิน ของเกษตรกร
จัดเก็บข้อมูลเดือนกันยายน 2547 7 0 จัดเก็บข้อมูลเดือนสิงหาคม 2547 6 จัดเก็บข้อมูลเดือนกรกฎาคม 2547 5 จัดเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน 2547 4 ตรวจมาตรฐาน,เลี้ยงไก่ใหม่ 3 ฆ่าเชื้อ,ทำความสะอาด,พักเล้า,ตรวจมาตรฐาน Modern Farm 2 ปัญหา/อุปสรรค -เกิดโรคระบาดไข้หวัดนก -ขอเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัด เป็น “ร้อยละของจำนวนฟาร์มไก่เนื้อ เพื่อการส่งออกที่คงสภาพการเป็นฟาร์มที่ได้รับมาตรฐาน” ภาวะไข้หวัดนกระบาด,ทำลายไก่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้าส่งออกไก่เนื้อ
ตัวชี้วัด 3:ต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่(บาท/ไร่) 0 0 สรุปรายได้และประเมินผล 11 จำหน่ายผลผลิต 10 ตรวจรับรองกระบวนการผลิต 9 เก็บเกี่ยว 8 หว่านข้าว(80%) 7 ส่งเสริมและสนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและ 6 สารสกัดจากพืชแก่เกษตรกร 18 กลุ่ม (>100 %) การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรตามกระบวนการ 5 โรงเรียนเกษตรกร 18 กลุ่ม (68.75%) การปรับปรุงดินและการส่งน้ำและแจกเมล็ดพันธุ์ 4 ถั่วเขียวให้เกษตรกรปลูก ปัญหา/อุปสรรค : ไม่มี ประชุมชี้แจงและขึ้นทะเบียนเกษตรกร 3 อบรมวิทยากรพี่เลี้ยงแก่เกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ดำเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ ยังไม่ดำเนินการ
ประเมินผลและรายงาน 8 ติดตามความก้าวหน้าโครงการ 7 จัดเก็บและประเมินผลรายได้สุทธิ ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ 6 โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ เชิงการค้า 5 4 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะเป็นอุตสาหกรรมการปศุสัตว์ สนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 3 ฝึกอบรมให้ความรู้เกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ 0 0 บาท/ไร่ รายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 629 593 ฐาน เป้า ปัญหา/อุปสรรค
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ(นาหญ้า) ประชุมสัมมนาเครือข่ายการผลิตหญ้าแพงโกล่า (20 %) 8 0 0 บาท/ไร่ การติดตามประเมินผล (70 %) 7 การเลี้ยงปลา (20 %) 6 การจำหน่ายผลผลิตและจัดหาตลาด (100 %) 5 ครั้งที่ 2 การจัดทำแปลงปลูกหญ้า (92 %) 4 ครั้งที่ 1 ฐาน เป้า ผล ขุดสระกักเก็บน้ำ (97 %) 3 รายได้จากการตัดหญ้า ครั้งที่ 1(พ.ท. 168 ไร่) เฉลี่ย 213 บาท/ไร่รายได้จากการตัดหญ้า ครั้งที่ 2 (พ.ท.86 ไร่)เฉลี่ย 351 บาท/ไร่-อาชีพเดิม : การทำนาในเขตชลประทาน 500 ไร่ นอกเขต 500 ไร่-อาชีพใหม่ : การทำนาหญ้า จัดหาครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง (95 %) 2 1 คัดเลือกเกษตรกรและฝึกอบรม (90 %)(การปลูกหญ้า, การทำบัญชีฟาร์ม, การเลี้ยงปลา, การใช้เครื่องจักรกล) ปัญหา/อุปสรรค-เกษตรกรปลูกหญ้าล่าช้า ไม่พร้อมกัน การเก็บเกี่ยวช่วงฤดูฝนผลผลิตเสียหาย รายได้ต่ำกว่าที่เป็นจริง-ผลผลิตและคุณภาพหญ้าที่ตัดยังต่ำอยู่
จัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยงจัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยง กลุ่มจังหวัด 4 3 จัดทำแผนปฏิบัติการที่ท่องเที่ยวหลัก และรอง ปัญหา/อุปสรรค 1.ปัญหาไข้หวัดนกทำให้รายจากสวนนกลดลง 2.เขื่อนเจ้าพระยาขาดการพัฒนาภูมิทัศน์ 3.ปัญหาในการปรับปรุงภูมิทัศน์วัดธรรมามูล 4.ปัญหาในการปรับปรุงภูมิทัศน์วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 5 1 0 ล้านบาท ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน 63.05 66.81 30.01 ฐาน เป้า ผล จัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวของจังหวัด 2 1 สำรวจแหล่งท่องเที่ยว
ตัวชี้วัดที่ 6:จำนวนผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว(ผลิตภัณฑ์) สารคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ไทย ปี 47 8 5 0 สนับสนุนงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 7 5 ดาว 3 ดาว 4 ดาว 6 ฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ OTOP ฐาน เป้า ผล 1. ผลิตภัณฑ์ 3-5 ดาว ได้รับมาตรฐาน(อย. มผช. ฯลฯ) 24 .ผลิตภัณฑ์ 2. ผลิตภัณฑ์ ที่เสนอเข้ารับการคัดสรรฯ 6 ประเภท คือ อาหาร จำนวน 48 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 3 ชนิด เครื่องดื่ม จำนวน 9 ชนิด คาดว่าได้ 4 ดาว 2 ชนิด ผ้าเครื่องแต่งกาย จำนวน 18 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด เครื่องใช้ จำนวน 78 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 5 ชนิด ศิลปะประดิษฐ์ จำนวน 8 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด สมุนไพร จำนวน 9 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด รวมทุกประเภท 170 ชนิด คาดว่า ได้ 4- 5 ดาว 14 ชนิด * ผลไม่สามารถวัดได้ในขณะนี้ เพราะการคัดสรรฯจะดำเนินการ ระหว่างเดือน ต.ค.- ธ.ค. 47 5 ลงทะเบียนกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มผู้ประกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOPให้ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย.มผช.และชัยนาทแบนด์ 4 จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3 ปัญหา/อุปสรรค 1. ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์การผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์บางผลิตภัณฑ์ยังไม่เหมาะสม 2.ระยะเวลาการคัดสรรผลิตภัณฑ์ ในเดือนตุลาคม เวลาช้า ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต OTOP การปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 2 สนับสนุนข้อมูล OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้แก่สมาชิกและคณะกรรมการฯด้านผลิตภัณฑ์
หน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบหน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบ 4 ปัญหา/อุปสรรค -.ปัญหาโรคระบาดไข้หวัดนกและสถานการณ์ราคาน้ำมันสูง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสินค้าด้านเกษตรกรรมสูงขึ้น อาจ ทำให้ GPP ไม่สามารถเพิ่มได้ตามเป้าหมาย หน่วยงานดำเนินงานร่วมกับอำเภอสร้างแนวทางปฏิบัติ 3 แนวทางแก้ไข ทบทวนเป้าหมาย GPP ให้สอดคล้องกับข้อมูล เศรษฐกิจของจังหวัดประเทศ ตัวชี้วัดที่ 7 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด 0 ล้านบาท 0 บูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติ 7 ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 6 ประชุมซักซ้อมความเข้าใจแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 19,745 ตรวจสอบเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 18,283 ส่งข้อมูลให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบ 5 ฐาน เป้า ไม่สามารถวัดผลได้ เนื่องจากการเก็บข้อมูลรายได้ เป็นการจัดเก็บตามปีปฏิทิน(ม.ค.-ธ.ค.) การบรรลุผลมีความเป็นไปได้น้อย เพราะสถานการณ์โรคไข้หวัดนก และราคาน้ำมัน จัดทำรายละเอียดเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ 2 ประชุมคณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1
ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละที่ลดลงของคนในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000 บาท ปี ตรวจสอบโดยคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอเดือนละ ครั้ง 9 ประชุมซักซ้อมเพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงาน 5 5 ตรวจสอบทะเบียนเอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน จำนวนครัวเรือน พัฒนาและยกระดับรายได้ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย 8 จัดส่งรายชื่อครัวเรือนที่ตกเกณฑ์และมีความประสงค์จะได้รับการพัฒนาอาชีพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7 8,798 20,836 3,262 6 สำรวจข้อมูลครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 27 เป็นรายเดือน ให้ความรู้แก่คณะกรรมการและหัวหน้าครัวเรือน เรื่องการจัดเก็บข้อมูล 5 ฐาน เป้า ผล เสนอแผนต่อประชาคมหมู่บ้านเพื่อยืนยันรับรอง ปัญหา/อุปสรรค 1.ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมี ต้นทุนการผลิตสูง 2.หนี้สินนอกระบบ 3.ไม่มีปัจจัยการผลิตเป็นของตนเอง เช่น ที่ดิน 4 จัดทำแผนยกระดับรายได้หรือแผนแม่บทชุมชน 3 อำเภอกิ่งอำเภอจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อตรวจสอบ และยืนยันข้อมูล 2 แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้กับครัวเรือนเป้าหมาย ลดต้นทุนการผลิต ปรับเปลี่ยนอาชีพ - สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยการใช้เงิน จัดทำบัญชีครัวเรือนที่มีรายได้น้อยต่ำกว่า 20,000 บาทปี 1
ตัวชี้วัด 9: จำนวนกิโลกรัมของเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ต่อไร่(กิโลกรัม/ไร่) 0 0 ปัญหา/อุปสรรค : การส่งน้ำไม่เป็นไปตามแผนทำให้เกษตรกรบางรายหว่านข้าวก่อนกำหนด ดำเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ ยังไม่ดำเนินการ
5 0 8 919,500 ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน 830,616 7 ดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานและทดสอบ 6 งบ ใช้จ่าย คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5 ประชาสัมพันธ์ 4 จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 กำหนดหลักสูตร เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรสถานที่ 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.กลุ่มเป้าหมายไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการเนื่องจากขาดรายได้ระหว่างการฝึกอบรม 2.ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่สามารถฝึกอบรม ได้ตลอดหลักสูตร 1 จัดทำโครงการขอรับ การสนับสนุนงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 10 :จำนวนแรงงานที่ยากจนและไร้ฝีมือที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน คะแนน งบประมาณ ดำเนินการฝึกอบรม/ทดสอบ ตามแผนปรับปรุง ฐาน เป้า ผล ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับระยะเวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. แนวทางแก้ไข 1. จัดฝึกอบรมในพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวดในการเดินทาง 2. เพิ่มจำนวนรุ่นการฝึกเพื่อให้มีจำนวนผู้ผ่านการฝึกครบตามเป้าหมาย
โครงการOTOP FAIR 2004 เดือนละ 2 วัน 4 ปัญหา/อุปสรรค 1.ข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพยังไม่ครบถ้วนเนื่องจากใช้แบบเครดิต ให้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาตลาด 3 แนวทางแก้ไข - ประมาณการรายได้จากยอด รายได้การจำหน่ายสินค้าที่ใช้ระบบเครดิต ตัวชี้วัดที่ 12 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP 5 ล้านบาท 0 140 สำรวจ ข้อมูลรายได้จากผู้ผลิตระดับอำเภอ 120 6 100 80 จัดทำฐานข้อมูลรายได้ของกลุ่มผู้ผลิตระดับอำเภอ 123,115,648 127,923,000 132,000,000 60 40 20 ฐาน ผล (ส.ค.47) เป้า 0 สนับสนุนกลุ่มผู้ผลิตสินค้าOTOPเข้าร่วมงาน แสดงสินค้าต่างๆ 5 - ข้อมูลการจำหน่ายสินค้า OTOP Iณ เดือน ส.ค.47 จำหน่ายได้จำนวน 13,908,100 บาท - คาดว่า ในเดือน ก.ย. 47 จะจำหน่ายได้ประมาณ 13,000,000 บาท (ดูจากสถิติการจำหน่ายสินค้า ตั้งแต่ ต.ค.46 - ส.ค.47 โดยเฉลี่ยเดือนละจำนวน 11,,193,331 บาท) จัดทำWebsite เผยแพร่ข้อมูล 2 จัดกำหนดเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการจำหน่ายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1
ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน การแนะแนวอาชีพ 11 การจัดหางานต่างประเทศ 10 0 0 ร้อยละการว่างงาน จัดหางานพิเศษนักเรียน นักศึกษา 9 ช่วยเหลือผู้ถูกเลิกจ้าง 8 5,437 คน 3,915 คน 3,262 คน จัดหางานให้ผู้พ้นโทษ 7 2.5 1.5 1.8 จัดหาแรงงานไทยทดแทนแรงงานต่างด้าว 6 เป้า ฐาน ผล นัดพบแรงงานย่อย 5 ปัญหา/อุปสรรค 1.จำนวนตัวเลขผู้ว่างงานใช้ตัวเลขจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ/จังหวัด 2.การได้มาซึ่งตัวเลขผู้ว่างงานใช้วิธีการทางสถิติโดยสุ่มตัวอย่างทำให้ เกิดความคลาดเคลื่อน โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลที่สุ่มตัวอย่างไม่ครอบคลุม ทำให้เกิดปัญหากรณีช่วงการรอฤดูกาลของภาคเกษตรตัวเลขผู้ว่างงาน จะสูงกว่าปกติ3.การที่รัฐอนุญาตให้แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา จดทะเบียนทำให้ชาวชัยนาทว่างงานเพราะไม่ชอบทำงานที่สกปรก ไกลบ้านและมีความเสี่ยง4.ชัยนาทเป็นแรงงานภาคเกษตรกรรมและครอบครัวส่วนใหญ่ทำงานในภาคเกษตรตลอดปี จัดหางานเคลื่อนที่ 4 ส่งเสริมให้คนพิการมีงานทำ 3 รับสมัครงาน,หาตำแหน่งงานว่าง,บรรจุงาน 2 ประชาสัมพันธ์ 1
ตัวชี้วัดที่ 17 : ร้อยละของผู้กู้ยืมเงินจากกองทุนของ โครงการ กข.คจ.ที่สามารถชำระคืนตามกำหนด ติดตามผลเดือนละอย่างน้อย 1 ครั้ง 10 ตรวจสอบทะเบียนเอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน 5 5 กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 9 ครัวเรือน คัดเลือกครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ประสบผลสำเร็จเพื่อ เป็นตัวอย่างขยายผล 8 149 100% ส่งเสริมการประกอบอาชีพ 7 100% ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 ประกวดหมู่บ้าน กข.คจ.ดีเด่น ระดับอำเภอ/จังหวัด 4 อบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ปัญหา/อุปสรรค ให้ความผู้แก่คณะกรรมการโครงการ กจ.คจ.เรื่องการติดตาม เงินยืมตามโครงการ 2 จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพเสริมและหลัก 1
ให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความรู้ด้านบริหารจัดการแก่คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน 2 ตัวชี้วัดที่ 18 : อัตราส่วนของผู้กู้ยืมจากกองทุนหมู่บ้านที่สามารถชำระคืนตามกำหนด ติดตามผลการดำเนินงาน 8 5 5 ตรวจสอบทะเบียน/เอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ ผิดวัตถุประสงค์ 7 70,409 สนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่นทุนประกอบอาชีพ 6 66,889 66,893 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 ฐาน 100% เป้า 95% ผล96.55% 4 หมายเหตุ จำนวนผู้กู้ยืมเงินที่เหลือยังไม่ครบกำหนดสัญญา ประกวดกองทุนหมู่บ้านดีเด่นระดับอำเภอ/จังหวัด ปัญหา/อุปสรรค -แบบรายงานที่ส่งกรมพัฒนาชุมชนเป็นแบบพันยอดตัวเลขของ ข้อมูลทำให้เกิดความล่าช้าในการแยกรายละเอียด แนวทางแก้ไข - ให้อำเภอ/กิ่งอำเภอจัดทำฐานข้อมูลใหม่ โดยยึดตาม คำอธิบายตัวชี้วัด จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา อาชีพเสริมและหลัก 1
ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ
ปัญหา/อุปสรรค การรายงานผลผลการดำเนินงานของหน่วยงานเกี่ยวข้องให้กับหน่วยงานรับผิดชอบหลักไม่เป็นปัจจุบัน ล่าช้า แนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่ 11 :ร้อยละเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการตรวจสอบแก้ไข 0 0 หน่วยงานรับผิดชอบจัดทำสรุปและรายงานผล 6 ร้อยละ 100%=191 ราย 5 73.29%=140ราย หน่วยงานเร่งรัดติดตามแจ้งหน่วยงานรับผิดชอบ 86.21 หน่วยงานรับเรื่องแจ้งให้หน่วยงานเร่งรัดติดตาม 4 ฐาน เป้า ผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบ แก้ไขรายงานผล 3 ส่งเรื่องให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ 2 หน่วยงานรับเรื่องร้องเรียนจัดทะเบียน 1
ตัวชี้วัดที่ 13 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ร้อยละ 1.5 1 6 โครงการเพิ่มความชุ่มชื้นผืนป่าสวนนกชัยนาท 95 80 80 5 70 โครงการพัฒนาสู่ความเป็น ICTVillage จังหวัดชัยนาท 70 60 4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพ สินค้า OTOP 3 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะ เป็นอุตสาหกรรมปศุสัตว์ 2 โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์เชิงการค้า ปัญหา/อุปสรรค 1 โครงการส่งเสริมการทำนาโดยใช้องค์ความรู้ในการลดต้นทุนการผลิตพัฒนาการใช้ชีวภาพและการเพิ่มมูลค่าการผลิตข้าง
ตัวชี้วัดที่ 13.2 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(โครงการนาหญ้า) ประชุมสัมมนาเครือข่ายการผลิตหญ้าแพงโกล่า (20 %) 8 0 0 บาท/ไร่ การติดตามประเมินผล (70 %) 7 การเลี้ยงปลา (20 %) 6 การจำหน่ายผลผลิตและจัดหาตลาด (100 %) 5 ครั้งที่ 2 การจัดทำแปลงปลูกหญ้า (92 %) 4 ครั้งที่ 1 ฐาน เป้า ผล ขุดสระกักเก็บน้ำ (97 %) 3 รายได้จากการตัดหญ้า ครั้งที่ 1(พ.ท. 168 ไร่) เฉลี่ย 213 บาท/ไร่รายได้จากการตัดหญ้า ครั้งที่ 2 (พ.ท.86 ไร่)เฉลี่ย 351 บาท/ไร่-อาชีพเดิม : การทำนาในเขตชลประทาน 500 ไร่ นอกเขต 500 ไร่-อาชีพใหม่ : การทำนาหญ้า จัดหาครุภํณฑ์และสิ่งก่อสร้าง (95 %) 2 คัดเลือกเกษตรกรและฝึกอบรม (90 %)(การปลูกหญ้า, การทำบัญชีฟาร์ม, การเลี้ยงปลา, การใช้เครื่องจักรกล) 1 ปัญหา/อุปสรรค-เกษตรกรปลูกหญ้าล่าช้า ไม่พร้อมกัน การเก็บเกี่ยวช่วงฤดูฝนผลผลิตเสียหาย รายได้ต่ำกว่าที่เป็นจริง-ผลผลิตและคุณภาพหญ้าที่ตัดยังต่ำอยู่
ตัวชี้วัดที่ 13.4 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ( โครงการที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP จังหวัดชัยนาท) ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 4 ปัญหา/อุปสรรค การคัดสรรยกระดับ 3 - 5 ดาว กำหนดระยะเวลาตามปีปฏิทินไม่สอดคล้องกับปีงบประมาณทำให้ชี้ผลลัพธ์ไม่ได้ เตรียมการด้านการบริหารจัดการ 3 แนวทางแก้ไข - 5 0 120 ติดตามผลการดำเนินงาน 7 100 จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนคัดสรรฯ 80 6กิจกรรม งบ 10,110,600 6กิจกรรม งบ 10,110,600 6กิจกรรม งบ 1,008,918 60 40 สนับสนุนกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนคัดสรรสุดยอด ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ไทย 6 20 0 ฐาน ผล เป้า - ผลดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ของผลิตภัณฑ์ ได้ระดับ 3-5 ดาว จะมีการคัดสรรระหว่างเดือน ต.ค.- ธ.ค.47 หมายเหตุ งบประมาณเหลือจ่าย 2,682 บาท จัดซื้อและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การพัฒนาผลิต ภัณฑ์แก่กลุ่มเป้าหมาย 5 2 กลั่นกรองคัดเลือกผลิตภัณฑ์ 1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัดที่ 13.5: ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(13.5 โครงการพัฒนาสู่ความเป็น ICT Villageจังหวัดชัยนาท) ติดตามประเมินผล 5 อบรมเจ้าหน้าที่ให้บริการ (80 %) 4 ติดตั้งและทดสอบอุปกรณ์ 3 ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากจังหวัดใช้การประมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ (e-Aution) ครั้งแรกมีผู้สนใจเพียงรายเดียว จึงต้องยกเลิก และดำเนินการซ้ำอีกครั้งหนึ่ง จึงสามารถหาผู้ประมูลได้ จัดหาวัสดุครุภัณฑ์และสถานที่ 2 ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (อบต.ธรรมามูล และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์) 1
ตัวชี้วัดที่ 13.6 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ( โครงการที่ 6 เพิ่มความชุ่มชื้นผืนป่าสวนนกชัยนาท) 40 35 30 25 20 เป้า 15 ผล 10 5 0 หาผู้รับจ้างดำเนินการก่อสร้าง 4 งวดงาน 1 งวดงาน 2 งวดงาน 3 ปัญหา/อุปสรรค ดำเนินการสำรวจ 3 แนวทางแก้ไข - 5 0 ตรวจรับงาน 7 40% ดำเนินการตามสัญญา 6 30% 29% 30% 29% 28% ทำสัญญาจ้าง 5 2 หาผู้รับจ้าง สำรวจ ออกแบบ 1 เตรียมรายละเอียดโครงการ
ทำโครงการประชุมสัมมนาการมีส่วนร่วมทำโครงการประชุมสัมมนาการมีส่วนร่วม ของประชาชนตามโครงการป้องกัน การทุจริตเพื่อให้จังหวัดใสสะอาด 5 4 รายงานผลการปฏิบัติเป็นประจำ ทุกเดือน 3 ประสานงานในการขอข้อมูลที่มี ชั้นความลับระหว่างหัวหน้าส่วนราชการ ทำหนังสือข้อข้อมูลจำนวนเรื่องทุจริตของ ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจที่มี การตั้งกรรมการสอบสวน 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.มีข้อมูลบุคลากรของหน่วยงานจำกัด อยู่ระหว่างปรับปรุง 2.เรื่องทุจริตที่ระบุชื่อ-สกุลเป็นเรื่องลับ ไม่สามารถเปิดเผยได้ 1 ข้อเสนอแนะ – ให้สำนักงานจังหวัดเป็นผู้จัดเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และแยกประเภทให้เรียบร้อย จัดเก็บข้อมูลเรื่องทุจริตที่มีการตั้งกรรมการ สอบสวนขอข้อมูลจากสำนักงานจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 21 : ร้อยละที่ลดลงของจำนวนเรื่องทุจริตของข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจในจังหวัดที่มีการตั้งกรรมการสอบสวนและมีมูล 5 0 เรื่อง 2 2 1 ผล เป้า ฐาน
ตัวชี้วัดที่ 22 : ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ ร้อยละ 3.64 3.85 4 ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเลคทรอนิกส์ (e-Auction) 3 ติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินภาครัฐเป็นประจำ ทุกเดือน 20 14.57 4.8 ผล เป้า ฐาน ให้ส่วนราชการแจ้งผลข้อมูลเงินงบประมาณที่ สามารถประหยัดได้เป็นประจำทุกเดือน 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.งบประมาณบางรายการยังไม่ได้รับเงินประจำงวดไม่สามารถ จัดซื้อจัดจ้างได้ 2.ครุภัณฑ์จากหลายหน่วยงานหลากหลายไม่สามารถนำมา ดำเนินการจัดซื้อตามระบบ e-Auction 3.เป็นข้อมูลเฉพาะหน่วยบริหารราชการส่วนภูมิภาค วงเงินน้อย ไม่สามารถประหยัดได้ 1 ทำหนังสือถึงส่วนราชการสังกัดบริหารราชการ ภูมิภาคเพื่อขอข้อมูลเงินงบประมาณที่ สามารถประหยัดได้ ข้อเสนอแนะ ควรใช้ตัวชี้วัดของหน่วยบริหารส่วนกลางจะประหยัดได้ มากขึ้น
หน่วยงานรับผิดชอบหลักจัดทำสรุปหน่วยงานรับผิดชอบหลักจัดทำสรุป และรายงานผล 6 45 วัน ทำการปรับปรุงเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 5 2.3 ช.ม. 2.3 ช.ม. 1.2 ช.ม. 1.3 ช.ม. 15 นาที ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4 เลือกสุ่มจัดเก็บข้อมูลงานบริการเดือนละ 1 สัปดาห์ 3 ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่ 23 :ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลา ของขั้นตอนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 4.3 4.3 เวลา จัดทำบัตรสำรวจเวลาการปฏิบัติงานและ แบบสรุป 2 คัดเลือกงานบริการที่จะดำเนินการลดรอบ 1
ตัวชี้วัดที่ 24 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงแก้ไขบริการ สรุปและรายงานผลการประเมินฯ ครั้งที่ 2 ให้หน่วยงานทราบ 9 4 2 ประเมินผลการดำเนินงานตามแบบประเมินฯ ครั้งที่ 2 8 ขั้นตอน หน่วยงานปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา 7 สรุปและรายงานผลการประเมินฯครั้งที่ 1 ให้หน่วยงานทราบ 6 ประเมินผลการดำเนินงานตามแบบประเมินฯครั้งที่ 1 5 เป้า ผล หน่วยงานดำเนินการตามแผน 4 หน่วยงานจัดทำแผนปรับปรุงแก้ไขบริการ โดยผ่าน การอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา 3 ปัญหา/อุปสรรค ไม่ตอบแบบสอบถามร้อยละ 28.57 ประชุมทำความเข้าใจการจัดเก็บข้อมูลและแบบประเมิน 2 จัดทำแบบประเมินผลการดำเนินงานและแบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1
ตัวชี้วัดที่ 25 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 ให้หน่วยงานทราบ 9 5 4.05 ร้อยละ วิเคราะห์ สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 8 90 80 ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 7 70 81.78 80 60 50 หน่วยงานปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการบริการ 6 40 30 20 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 ให้หน่วยงานทราบ 5 10 0 เป้า ผล วิเคราะห์ สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 4 หมายเหตุ จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 1,139 คน ดำเนินการสร้างความพึงพอใจของผู้รับบริการ ครั้งที่ 1 3 ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี ประชุมทำความเข้าใจการจัดเก็บข้อมูลและ แบบสำรวจความพึงพอใจ 2 จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1
ตัวชี้วัดที่ 25 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ หน่วยงานที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่ำกว่า 3.50 สะอาด ที่จอดรถ เป็นกันเอง เสมอภาค รวดเร็ว ห้องสุขา แก้ปัญหา มีส่วนร่วม ตรงเวลา คล่องตัว เครื่องมือ ผังสำนักงาน ประชาสัมพันธ์
ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี ตัวชี้วัดที่ 26 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร อบรมหลักสูตรการจัดยุทธศาสตร์และนำไปสู่การปฏิบัติ ระดับหัวหน้าฝ่ายและเจ้าหน้าที่ 11 3.95 0 จำนวนหลักสูตร อบรมหลักสูตรการใช้โปรแกรม Cute FTP สำหรับUploadข้อมูลสู่Server 10 อบรมหลักสูตรการจัดทำระบบฐานข้อมูล GIS 9 6 8 อบรมหลักสูตรการส่งและแก้ไขข้อมูลในระบบ Intranet 8 อบรมหลักสูตรการบริหารจัดการมุ่งผลสัมฤทธิ์(RSB)สำหรับผู้บริหาร 7 เป้า ผล อบรมหลักสูตรการจัดทำระบบฐานข้อมูล MIS 6 อบรมหลักสูตรการบันทึกข้อมูลการมอบอำนาจของส่วนราชการ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลงในWebsite ระบบ Intranet 5 อบรมหลักสูตรการจัดทำแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการ 4 หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู้ ในองค์กร ปี 2548 3 สร้างความรู้ ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาระบบบริหารความรู้ ในองค์กรให้กับหน่วยงานในระดับจังหวัด 2 จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กรระดับจังหวัด 1
จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด(POC)จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด(POC) 9 จำนวนขั้นตอน พัฒนาบุคลากร 8 พัฒนาระบบเชื่อมโยงเครือข่าย 7 จัดทำGISระดับครัวเรือน 6 0 ฐาน ผล เป้า จัดทำ MIS ระดับครัวเรือน 5 เก็บรวบรวมข้อมูลปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลัง 4 กำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบเก็บข้อมูล 3 ออกแบบฐานข้อมูล 2 แต่งตั้งคณะทำงาน 1 ตัวชี้วัดที่ 27 : การพัฒนาระบบฐานข้อมูล(Database)ของจังหวัด 5 5 ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี
ตัวชี้วัดที่ 16. ระดับความสำเร็จของการจัดทำทะเบียนเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ 5 6 5 การดำเนินการขั้นตอนที่ 1-4 แล้วเสร็จก่อน 30 ก.ย. 47 5 10 4 ส่งทะเบียนที่ได้รับการแก้ไขให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9 3 8 2 บันทึกการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้อง คณะทำงานแก้ไขปัญหาระดับจังหวัดวิเคราะห์ปัญหา 1 7 คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาระดับอำเภอวิเคราะห์ พิจารณาหาทางแก้ไข 6 เป้า ผล ชุดปฏิบัติการประจำตำบล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล 5 ปัญหา/อุปสรรค บันทึกการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมข้อมูลจากการประชาคม 4 ทำประชาคมตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของข้อมูล 3 บันทึกข้อมูลที่รับลงทะเบียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ 2 อำเภอ/กิ่งอำเภอ รับลงทะเบียน 1
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
ตัวชี้วัดที่ 14 : ร้อยละของหมู่บ้านเข้มแข็งเพื่อเอาชนะยาเสพติด 4.28 0 เผยแพร่ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อยกระดับ เป็นประเภท ก 6 120 100 ประชุมนายอำเภอ/ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าทุกสัปดาห์ 5 80 502 หมู่บ้าน 56 ชุมชน 100% 60 100% เจ้าหน้าที่ติดตาม กำกับ ดูแล และแนะนำ การพัฒนา 4 40 20 3 ศตส.อ./กิ่ง อ. รายงานผลให้ ศตส.จ. ทุก 15 วัน ฐาน เป้า ผล ศตส.อ./กิ่ง อ. เร่งรัดการพัฒนาให้เป็น หมู่บ้าน/ชุมชนประเภท ก 2 ปัญหา/อุปสรรค ตรวจสอบการจำแนกหมู่บ้าน/ชุมชน (ประเภท ก,ข,ค และ ง) 1
4 สถานีประสานความร่วมมือกับประชาชน ในพื้นที่จัดตั้งชุดป้องกันและปราบปราม 3 จัดชุดป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยเน้นการข่าว จัดชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธ์ 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.กำลังพลในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ 2.โครงการคืนคนดีสู่สังคมยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสังคม 3.การบูรณาการจากหน่วยงานต่างๆไม่สามารถดำเนินการได้เต็ม รูปแบบ 1 เพิ่มมาตรการจัดสายตรวจในช่วงระยะเวลาที่เกิด เหตุประจำและให้ครอบคลุมพื้นที่ตลอด 24 ชม. ตัวชี้วัดที่ 19 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราคดีต่อประชากรแสนคน คดีต่อแสนคน 2.56 0 58.29 71.43 67.43 72.86 58.29 46.63 20.29 16.23 8
รวบรวมจัดทำข้อมูลสถิติคดีรวบรวมจัดทำข้อมูลสถิติคดี 6 เร่งรัดคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย 5 จัดสายตรวจทุกระบบออกตรวจในพื้นที่ อย่างสม่ำเสมอ 4 จัดชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธ์ทุกสถานี 3 ประสานขอความร่วมมือกับประชาชน ด้านการข่าว 2 แต่งตั้งชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจ รับผิดชอบในแต่ละคดี 1 ตัวชี้วัดที่ 20 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราส่วนคดีที่สามารถจับกุมผู้กระทำผิดได้ต่อจำนวนคดีที่ได้รับแจ้งทั้งหมด 4.08 4.08 จำนวนคดี 78.57 59.44 61.18 51.60 54.80 45.35 39.44 41.18 34.80 ปัญหา/อุปสรรค 1.กำลังพลในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ 2.โครงการคืนคนดีสู่สังคมยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสังคม 3.การบูรณาการจากหน่วยงานต่างๆไม่สามารถดำเนินการได้เต็ม รูปแบบ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยนาทสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยนาท สวัสดี