380 likes | 515 Views
การประชุมชี้แจง การดำเนินการตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับหน่วยงานราชการ ส่วนภูมิภาคทุกส่วนราชการ วันที่ 2 3 พฤษภาคม 2551 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดปัตตานี. เหตุผล.
E N D
การประชุมชี้แจง การดำเนินการตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับหน่วยงานราชการ ส่วนภูมิภาคทุกส่วนราชการ วันที่ 23 พฤษภาคม 2551 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดปัตตานี
เหตุผล การประเมินผลการปฏิบัติราชการของปีงบประมาณ พ.ศ.2551 สำนักงาน ก.พ.ร. ได้นำตัวชี้วัดในมิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กรทั้งมิติมาผนวกไว้ในตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ซึ่งประกอบด้วย การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล, การบริหารความเสี่ยง, การจัดการความรู้, การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูลสารสนเทศ
วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันและขอความร่วมมือในการดำเนินการตามตัวชี้วัดย่อยเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ครบถ้วน ในขั้นตอนการดำเนินงาน
วิธีการและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการวิธีการและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด 4
จังหวัดมีประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการซึ่งมีน้ำหนักรวมร้อยละ 100 ดังนี้ มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ กรอบน้ำหนักในการคำนวณผลคะแนน ร้อยละ 50 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ กรอบน้ำหนักในการคำนวณผลคะแนนร้อยละ 20 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ กรอบน้ำหนักในการคำนวณ ผลคะแนนร้อยละ 10 มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร กรอบน้ำหนักในการคำนวณผลคะแนนร้อยละ 20 5
มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก : ร้อยละ 20
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้แบ่งวิธีการดำเนินการออกเป็น 2 แนวทาง คือ (1) การดำเนินการตามตัวชี้วัด ซึ่งถือว่าเป็นภาคบังคับที่ทุกจังหวัดจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน ซึ่งจะกำหนดวิธีการดำเนินการที่ควรจะเป็นในแต่ละหมวด และ (2) การดำเนินการเพื่อขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ถือว่าเป็นภาคสมัครใจที่จังหวัดจะเลือกดำเนินการ และอยู่นอกเหนือจาก คำรับรองการปฏิบัติราชการ ซึ่งจะมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากแนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง ความสำเร็จที่จังหวัดนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) และเป็นบรรทัดฐาน การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของจังหวัด เพื่อปรับปรุงองค์กรและยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการของจังหวัดสู่ระดับมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตัวชี้วัดนี้ได้ผนวกตัวชี้วัดย่อย 5 ตัว ได้แก่ การจัดการความรู้ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล risk management และ HR scorecard ที่เคยดำเนินการไปแล้วในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาไว้ในตัวชี้วัด PMQA โดยในการประเมินจะใช้วิธีการให้คะแนนตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนดขึ้นในแต่ละข้อคำถามในแต่ละหมวด
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management MIS e-government
ประโยชน์ต่อส่วนราชการประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรายงานป้อนกลับ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA No ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จจังหวัดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จจังหวัด มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 11
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 : ปี 2551
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด, IT, KM, Individual Scorecard ไว้ด้วย
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด, IT, KM, Individual Scorecard ไว้ด้วย
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด Risk Management, IT, KM, HR & Individual Scorecard ไว้ด้วย
แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4
สาระสำคัญ PMQA ปี 2551 • การประเมินผลการดำเนินงาน ด้วยข้อมูลของ ปีงบประมาณ 2551 • (1 ตค. 2550 – 30 กันยายน 2551) • การบูรณาการ ตัวชี้วัด มิติที่ 4 • KM, IT, Individual Scorecard, PMQA • ( ให้น้ำหนักความสำคัญคะแนน กับ ตัวชี้วัดเดิม ) • การวัด ระดับคะแนน ของ การดำเนินงานองค์กร • ( เพื่อรู้สถานะและมุ่งสู่การปรับปรุงองค์กร ยังไม่ใช่รางวัล ) • การปรับ ภาษาเกณฑ์ ให้เหมาะสมและเข้าใจง่ายขึ้น • รูปแบบการประเมิน ใช้ การระบุระดับตามแบบประเมิน • (ไม่ต้องเขียนรายงาน) • การวัด ความเข้าใจ PMQAของผู้บริหาร • ( 3 ระดับชั้นบังคับบัญชา ) • การติดตามประเมินหลักฐานโดย ผู้ตรวจประเมินภายนอก1 ครั้ง • ( ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2551)
จังหวัด 1 สำนักงานจังหวัด หน่วยงานประเมิน 2 ที่ทำการปกครอง จังหวัด 3 สนง.พัฒนาชุมชน จังหวัด 4 สำนักงานเกษตร จังหวัด 5 สนง.สาธารณสุข จังหวัด สนง.พัฒนาชุมชน อำเภอ สนง.เกษตร อำเภอ สนง.สาธารณสุข อำเภอ ที่ทำการปกครอง อำเภอ ที่ทำการปกครอง กิ่งอำเภอ สนง.พัฒนาชุมชน กิ่งอำเภอ สนง.เกษตร กิ่งอำเภอ สถานีอนามัย 6 สำนักงานประมง จังหวัด 7 สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัด 8 สำนักงานที่ดิน จังหวัด สนง.ปศุสัตว์ อำเภอ สนง.ประมง อำเภอ สนง.ที่ดินจังหวัด สาขาส่วนแยก สนง.ที่ดินจังหวัด สาขา สำนักงานที่ดิน อำเภอ
การเชื่อมโยงข้อมูลการประเมินการเชื่อมโยงข้อมูลการประเมิน ส่วนราชการประจำจังหวัด 1 2 3 4 • ตอบคำถาม • ลักษณะสำคัญขององค์กร • เกณฑ์ PMQA : 7 หมวด 6 5 7 จังหวัด 8 PMQA จังหวัด ข้อมูลสารสนเทศ อำเภอ ส่วนราชการประจำอำเภอ 1 2 3 4 5 6 7 8
1 2 8 3 7 6 4 5 ลำดับขั้นตอนการประเมิน ส่วนราชการประจำจังหวัด 1 2 3 4 มิติที่ 4 จังหวัด 5 6 7 8
ขั้นตอนการดำเนินการ PMQA ปี 2551
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ P : ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะ องค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (1)1 ทิศทาง (2)2 นโยบาย (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร How 10 What 2
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี • (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ • วิธีการถ่ายทอด • การจัดสรรทรัพยากร • การทำให้ผลมีความยั่งยืน • (18)6 การทำแผนปฏิบัติการ • 6.1 what • แผนปฏิบัติการที่สำคัญ • 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) • (19)7what • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • 7.14ปี • 7.21ปี • (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ • 8.1 what • ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ • 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ • เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ Risk Management แก้ไข Individual Scorecard How 6 What 5
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ (25)4 การสร้างความสัมพันธ์ (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ How 11 What 0
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ • (41)9 การจัดการความรู้ • (KM) • รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร • รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น • แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ • (36)4 what • ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร • ทบทวนผลดำเนินงาน • วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ • เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ KM IT IT How 9 What 1
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (51)9 การพัฒนาบุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม (53)11 การบริหารการฝึกอบรม (54)12 การพัฒนาบุคลากร (43)1 การจัดการระบบงาน (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง HR Scorecard How 21 What 0
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร HR Scorecard
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ How 12 What 6
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (87)12 ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (90)15 ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Key Result Area KRA : 15
การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ สังคม การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจัยภายใน HR Scorecard Risk Management Individual Scorecard 2 การวางแผน ยุทธ์ศาสตร์ 5 การมุ่งเน้น บุคลากร มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพ 1 การนำ องค์กร 7 ผลลัพธ์ องค์กร มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร 6 การจัดการ กระบวนการ IT & KM 4 การวัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และการจัดการความรู้ PMQA
09.30 - 10.30น. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับ องค์กรสู่ระดับบุคคล - การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์จังหวัด (Strategy Map) - การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 10.30 - 12.00น. การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง, ระบบข้อมูลสารสนเทศ