720 likes | 1.51k Views
การประกันคุณภาพภายใน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา. มาตรา 47 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 48 ระบบการประกันคุณภาพภายใน มาตรา 49 องค์กรในการประเมินภายนอก มาตรา 50 การให้ความร่วมมือในการประเมินภายนอก มาตรา 51 การเสนอผลการประเมินภายนอก.
E N D
การประกันคุณภาพภายในสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาการประกันคุณภาพภายในสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
หมวด 6มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา • มาตรา 47 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา • มาตรา 48 ระบบการประกันคุณภาพภายใน • มาตรา 49 องค์กรในการประเมินภายนอก • มาตรา 50 การให้ความร่วมมือในการประเมินภายนอก • มาตรา 51 การเสนอผลการประเมินภายนอก
มาตรฐานการศึกษาชาติ • มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก • มาตรฐานที่ 2 แนวทางการจัดการศึกษา • มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน การอาชีวศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๔ ตัวบ่งชี้ มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษา ประเภทอื่น
เป้าหมายการอาชีวศึกษา กำลังคนช่างฝีมือ ช่างเทคนิค และนักเทคโนโลยี มีปริมาณและคุณภาพในการผลิตและบริการ สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
มาตรฐานและคุณภาพ • มาตรฐาน (Standard) คือ เกณฑ์ ขอบเขต ข้อกำหนด ระดับคุณภาพที่คาดหวัง สามารถประเมินผลได้ • คุณภาพ (Quality) คือ คุณลักษณะที่สอดคล้องกับความต้องการ และความพึงพอใจ
คุณภาพการอาชีวศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณสมบัติตรงตามเป้าหมาย ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตรและความต้องการของตลาดแรงงาน และหมายถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่มีการยอมรับว่ามีประสิทธิภาพเป็นระบบแบบแผนที่ดี
มาตรฐานการอาชีวศึกษาข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ/คุณภาพที่พึงประสงค์ ในการจัดอาชีวศึกษา • สมศ. • ม.๑ การประกันคุณภาพภายใน • ม.๒ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา • ม.๓ การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา • ม.๔ นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ • ม.๕ การให้บริการทางวิชาการต่อชุมชน • ม.๖ การบริหารและการจัดการ • สอศ. • ม.๑ ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ • ม.๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน • ม.๓ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • ม.๔ การบริการวิชาชีพสู่ชุมชน • ม.๕ นวัตกรรมและการวิจัย • ม.๖ ภาวะผู้นำและการจัดการ • ม.๗ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการอาชีวศึกษา มาตรฐานการประเมินภายนอกของ สมศ. ความสัมพันธ์มาตรฐานการศึกษาชาติ/มาตรฐานการอาชีวศึกษา/มาตรฐานการประเมินภายนอก ของ สมศ.
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน กับการประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน รายงาน การประเมินตนเอง (SSR - SAR) การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ตามปกติ การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา ตามปกติ การตรวจเยี่ยม การติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ
การประกันคุณภาพการอาชีวศึกษา ในปัจจุบัน ประกันคุณภาพภายใน สอศ. มาตรฐานการ อาชีวศึกษา ประกันคุณภาพภายนอก คณะกรรมการ ประเมินภายใน สมศ. มาตรฐาน ประเมินภายนอก กำกับ ดูแล ประเมิน รับรอง สถานศึกษาสังกัดสอศ. ประเมิน
การประกันคุณภาพการอาชีวศึกษาในอนาคต ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก สอศ. มาตรฐานการอาชีวศึกษา กำกับ ดูแล สมศ. มาตรฐาน ประเมินภายนอก สถาบัน. มาตรฐานการประกันคุณภาพ คณะกรรมการ ประเมินภายใน กำกับ ดูแล • สถานศึกษาสังกัดสอศ. • นักศึกษา ประเมิน รับรอง • สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ • มาตรฐานอาชีพ/สมรรถนะ • สถาบันทดสอบฯ • มาตรฐานวิชาการ ประเมิน
ระบบการประกันคุณภาพ ของ สอศ. การพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • วิเคราะห์มาตรฐานการอาชีวศึกษา • จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา • จัดทำระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา การตรวจสอบ คุณภาพ นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลโครงการโดยคณะติดตามจาก สอศ./ รายงาน Sar (30 พฤษภาคม) นิเทศ/ติดตาม/ประเมินโครงการโดยคณะกรรมการของสถานศึกษา การประเมิน คุณภาพ • ทุก 2 ปี จากต้นสังกัด • (30 กันยายน) ประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา(รายงาน Sar) สมศ. • ประเมินภายนอกทุก 5 ปี • มาตรฐานการประเมินภายนอกของ สมศ. แจ้งต่อต้นสังกัด/สาธารณชน/ชุมชน/ผู้เกี่ยวข้องทราบ
มาตรฐาน การอาชีวศึกษา การพัฒนาคุณภาพ 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ มาตรฐานตามประเภทสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองรายงานการประเมินตนเอง 30 พฤษภาคม การตรวจสอบคุณภาพ 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้
ตรวจประเมินทุก 2 ปี การประเมินคุณภาพ 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้
การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษาในด้านวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาชาติ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนำความรู้ทางทฤษฏีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพได้โดยอิสระ มาตรา 6
ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ และดูแลระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือสถานประกอบการเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอาชีวศึกษา มาตรา 11(9) • ผลการประเมิน สมศ. • วางระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
ภาระหน้าที่ในการจัดทำมาตรฐานภาระหน้าที่ในการจัดทำมาตรฐาน สถาบัน/อศจ. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับสถาบัน มาตรฐานการอาชีวศึกษา วิทยาลัย มาตรฐานตามประเภทวิชา/สถานศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับวิทยาลัย สอศ.
การเตรียมงานในอนาคต มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคใต้..........
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2
ผลักดันให้เกิด พ.ร.บ.อาชีวศึกษา จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TVQ) ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษา หลักสูตร 2 track -หลักสูตรเน้นการเรียนต่อ -หลักสูตรเน้นการเข้าสู่ตลาดแรงงาน ระดับรัฐบาล/สอศ. พัฒนาครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ การพัฒนาการจัด การอาชีวศึกษา เปิดโอกาสให้เอกชนที่สามารถ จัดการศึกษาได้ดีร่วมจัดอาชีวศึกษา ระบบการอาชีวศึกษาควรมีความหลากหลาย แต่ละประเภทของสถานศึกษาควรมีการ จัดการเรียนการสอนที่เอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นหลักสูตรแบบเข้ม สถานศึกษาควรมีความร่วมมือกัน ในการจัดการศึกษา ควรมีการแนะแนวอาชีพให้กับผู้เรียน ระดับสถานศึกษา สร้างความเข้าใจเรื่อง SME และ child center พัฒนาอาจารย์ให้ได้รับการเพิ่มพูนความรู้ ส่งเสริมให้ น.ศ.มีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 1 การประกันคุณภาพภายใน • คำสั่งผู้ประเมินภายในสถานศึกษา • คำสั่งผู้ประเมิน/ผู้ตรวจสอบ โครงการ กิจกรรม • แผนพัฒนาแผนก 3 ปี แผนปฏิบัติงานประจำปีของแผนกไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา • ไม่มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงงาน/หลักฐานการตอบสนองข้อร้องเรียนเพื่อปรับปรุงคุณภาพของสถานศึกษา • รายงานการประเมินตนเองย้อนหลัง 3 ปี(ไม่มีข้อมูลเชิงคุณภาพส่วนมากเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ) • ไม่มีระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 2 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา • ฐานข้อมูลตัวเลขในรายงาน sar กับวันตรวจประเมินไม่ตรงกัน • การได้งานทำภายใน 1 ปี สถานศึกษามีการเก็บข้อมูลยังไม่เป็นระบบ และเก็บได้น้อยและช่องทางในการเก็บไม่หลากหลาย • ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ข้อมูลเก็บได้ไม่ทั่วถึง และเก็บได้น้อย ข้อคำถามในแบบประเมินต้องปรับปรุง ไม่ได้เก็บกับผู้ได้งานจริง • กระบวนการจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพ
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา • การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะในสถานศึกษา • จำนวนหลักสูตรที่พัฒนา • ดูที่แผนการจัดการเรียนรู้ และสังเกตการสอนจริง • อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพในแต่ละประเภทวิชา มักจะต่ำ • จำนวนคน-ชั่วโมงของผู้เชี่ยวชาญ ในแต่ละสาขาวิชามักจะต่ำ ไม่มีข้อมูลรายละเอียดของผู้เชี่ยวชาญ (ไม่ใช่อาจารย์พิเศษ) • ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์ ข้อคำถามในแบบสอบถาม/ไม่มีความน่าเชื่อถือ กระบวนการเก็บข้อมูล ต้องการข้อมูลเป็นรายแผนกวิชา ทุกรายวิชาที่สอน และทุกภาคเรียน
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา • งบประมาณสำหรับวัสดุฝึกอย่างเพียงพอในแต่ละสาขาวิชาจะต่ำ • ความพร้อมของศูนย์วิทยบริการ ขนาดและการให้บริการแก่บุคคลภายนอก ความพึงพอใจ • ความเพียงพอและความทันสมัยของครุภัณฑ์เครื่องมือ/อุปกรณ์การศึกษาในแต่ละสาขาวิชา มักไม่ทันสมัย ขาดการบำรุงรักษา • กิจกรรมเชิงวิชาการน้อย จำนวนกิจกรรมนักศึกษาและโครงการพัฒนานักศึกษาควรเป็นโครงการที่เกิดจากความคิดของนักศึกษา
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 4 นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา • คุณภาพของงานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ • งบประมาณต่ำ • ทำไม่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 5 การบริการทางวิชาการที่ตอบสนองต่อชุมชนและสังคม • กิจกรรมเชิงวิชาการค่อนข้างน้อย • ไม่มีการหาความต้องการของชุมชน/ไม่มีการประเมิน
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจประเมินของ สมศ. • มาตรฐานที่ 6 • ฐานข้อมูลของสถานศึกษาในการบริหารและการจัดการ ไม่เป็นปัจจุบันและไม่ครอบคลุมทุกเรื่อง • จำนวนอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาในด้านวิชาชีพที่สอนมีน้อย (นับเฉพาะการพัฒนาในวิชาชีพเท่านั้น)
ได้รับการประเมิน 384 แห่ง - รับรองมาตรฐาน 342แห่ง(89%) - ไม่รับรองมาตรฐาน 26 แห่ง(7%) - รอพินิจ 16 แห่ง(4%) ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 2 โดย สมศ.
จำนวนสถานศึกษาที่ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน และรอพินิจ
ผลกระทบ • ภาพรวมขององค์กร • เงินโบนัส • การเลื่อนวิทยฐานะ
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา P2500@hotmail.com