510 likes | 2.21k Views
พัฒนาการเด็กปฐมวัย ของประเทศไทย. นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. ชุดโครงการวิจัย. สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย
E N D
พัฒนาการเด็กปฐมวัยของประเทศไทยพัฒนาการเด็กปฐมวัยของประเทศไทย นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ชุดโครงการวิจัย • สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน • และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต • ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย • พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของครอบครัวไทย • การมีส่วนร่วมชุมชน ท้องถิ่นต่อการพัฒนาการ • เด็กปฐมวัยไทย • คุณภาพบริการและการเข้าถึงบริการต่อพัฒนาการ • เด็กปฐมวัยไทย
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี
ความสำคัญของปัญหา • ในประกำลังพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่า 200 ล้านคนทั่วโลก มีพัฒนาการต่ำกว่าวัย • การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 2 (2539 – 2540) • - พัฒนาการช้ากว่าวัย ร้อยละ 20.1 • การสำรวจพัฒนาการเด็ก 1-5 ปี ของกรมอนามัย ในปี 2550 ด้วย DENVER II • - ภาพรวมของเด็กทุกกลุ่มอายุมีพัฒนาการรวมทุกด้านปกติ ร้อยละ 66.7 • การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 (2551 – 2552) • - พัฒนาการการทรงตัวและการเคลื่อนไหวสมอายุ ร้อยละ 90 • - ด้านสติปัญญาหรือทักษะความพร้อมในการเรียน มีพัฒนาการสมวัย • ร้อยละ 74
วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อศึกษาปัจจัยของแม่ที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก • เพื่อศึกษาปัจจัยของเด็กที่มีผลต่อพัฒนาการ • เพื่อศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อพัฒนาการของ • เด็ก
กรอบแนวคิดในการศึกษา • ปัจจัยด้านแม่ • ลักษณะทางประชากร • พฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างตั้งครรภ์ • ภาวะสุขภาพ • ภาวะโภชนาการ • ปัจจัยด้านเด็ก • ภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด ,หลังคลอด • การเจ็บป่วยของเด็ก • ภาวะโภชนาการ • ปัจจัยแวดล้อม • ลักษณะทางประชากรของผู้ดูแลเด็ก • ที่อยู่อาศัย • การเลี้ยงดูเด็ก พัฒนาการเด็ก
นิยามศัพท์ “พัฒนาการ” • การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการทำหน้าที่ (Function) และวุฒิภาวะ (maturation) ของอวัยวะระบบต่าง ๆ • พฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงถึงความก้าวหน้าตามลำดับทั้ง 4 ด้าน คือ - ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ - ด้านภาษา - ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก - ด้านสังคม และการช่วยเหลือตัวเอง
นิยามศัพท์ การแปลผลระดับพัฒนาการ โดยรวม(Denver II) • ปกติ (Normal) เด็กที่ทำการประเมินพัฒนาการเด็กโดยไม่มีข้อทดสอบ “ล่าช้า” และ / หรือ มีข้อทดสอบ “ควรระวัง” เพียง 1 ข้อเท่านั้น • สงสัย (Suspect) เด็กที่ทำการประเมินพัฒนาการเด็กมีข้อทดสอบ “ควรระวัง 2 ข้อขึ้นไป และ/หรือ มีข้อทดสอบ “ล่าช้า” 1 ข้อขึ้นไป
นิยามศัพท์ ผู้เลี้ยงดูเด็ก พ่อ หรือแม่ หรือคู่สามี ภรรยาคนใหม่ หรือปู่ ย่า ตา ยาย ญาติ หรือ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งดูแลเด็กต่อเนื่องอย่างน้อย ๖ เดือน
ขอบเขตการวิจัย ประชากร - บิดา หรือ มารดา หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก อย่างน้อย 6 เดือนอย่างต่อเนื่อง - เด็กปฐมวัย 4 กลุ่ม กลุ่มอายุ 9 – 12 เดือน กลุ่มอายุ 18 –24 เดือน กลุ่มอายุ 30 –36 เดือน กลุ่มอายุ 42– 48 เดือน
การคำนวณตัวอย่าง k = 1.96 E’≤0.10 P = 0.5 Q = 1-P n = 10,400
การสุ่มตัวอย่าง “Stratified Three-stage Sampling” • หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง • กรุงเทพมหานคร/เครือข่ายบริการสุขภาพ • หน่วยตัวอย่างขั้นที่สอง • จังหวัดในแต่ละเครือข่ายฯ/เขตใน กทม. • หน่วยตัวอย่างขั้นที่สาม • เด็กอายุ ๐-๕ ปี
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง ใน กทม.
พื้นที่ดำเนินการวิจัยพื้นที่ดำเนินการวิจัย • หมู่บ้าน • ศูนย์เด็กเล็ก • สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ
การคัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (Inclusion Criteria) • ต้องเป็นเด็กสัญชาติไทย อายุตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 48 เดือน • ผู้ปกครองยินยอมที่จะเข้าร่วมงานวิจัย • ผู้ปกครองสามารถให้ประวัติได้ครบถ้วนและมีสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
การแยกอาสาสมัครออกจากโครงการ (Exclusion criteria) • เด็กที่มีโรคหรือความพิการแต่กำเนิดที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่น ภาวะ Down syndrome , ออทิสติก, ความพิการทางสมอง (cerebral palsy) เด็กที่มีประวัติชัก และได้รับยากันชัก • เด็กที่ไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจพัฒนาการ • เด็กที่ไม่ทราบอายุ • เด็กที่อยู่กับครอบครัวที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต เครือญาติ
ตรวจพัฒนาการ ด้วย DENVER II ตรวจไม่ได้ (สภาพเด็กไม่พร้อม, เด็กไม่ให้ความร่วมมือ) ตรวจ ได้ ผลการตรวจพัฒนาการเด็ก ส่งสัยล่าช้า ปกติ ยุติการเข้าร่วมโครงการวิจัย วิเคราะห์ความสัมพันธ์ สัมภาษณ์ พ่อ / แม่ / ผู้ดูแลเด็ก -ปัจจัยด้านแม่ • เด็ก • สิ่งแวดล้อม เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการ ในสถานบริการสาธารณสุข / ชุมชน ขั้นตอนการวิจัย ไม่มีโรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก * มีโรคทางพันธุกรรมและโรคอื่น ๆ ที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก (Exclude 1) (Exclude 2)
เครื่องมือที่ใช้ • แบบสัมภาษณ์ • แบบประเมิน Denver II • สมุดสีชมพู
สถิติที่ใช้ • สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • วิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression analysis)
ประโยชน์ของการวิจัย • เพื่อทราบสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อ พัฒนาการเด็กไทย ๒. เพื่อเป็นข้อมูลในการกำหนดนโยบาย ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๓. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนา รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างมี ประสิทธิผล
เอกสารอ้างอิง • Grantham-McGreger S, Tin Bun Cheung, Santiago Cuato, et al. Early child development in developing countries. Laneet 2007.369,60-70 • J Bruce Tomblin, Henry L Recorels, Paula Buckhatter, et al. Prevalence of Specific Language Impairment in Kindergarton Children J Speech Language, and hearing research. 1997,40 : 1245-1260. • รัตโนทัย พลับรู้การ และคณะ . สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • นันทา อ่วมกุล และคณะ. สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • ปาณาบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน. สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • ดวงหทัย จันทร์เชื้อ และคณะ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี. • กชกร วัชรสุนทรกิจ และ คณะ. การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขต 17 • นิตยา คชภักดี. อรพินท์ เหล่าสุวรรณพงษ์. คู่มือการฝึกอบรมการทดสอบพัฒนาการเด็กปฐมวัย Denver II ฉบับภาษาไทย. • ศิริสรา ลิปิพันธ์. พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๕ ปี และคุณลักษณะของผู้ดูแลใน สถานสงเคราะห์ เด็กอ่อนสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในเขตภาคกลาง.