400 likes | 414 Views
การแก้ปัญหา. 1. ขยะในโรงเรียน 2. มาโรงเรียนสาย 3. ความล่าช้าในการซื้อของที่สหกรณ์โรงเรียน 4. พวงกุญแจห้อยกระเป๋าหาย ระบุรายละเอียดปัญหา :……………………………………………. สาเหตุ :………………………………………………………….. วิธีแก้ปัญหา : ……………………………………………………. ปัญหาในชีวิตประจำวัน. ขั้นตอนการแก้ปัญหา.
E N D
1. ขยะในโรงเรียน 2. มาโรงเรียนสาย 3. ความล่าช้าในการซื้อของที่สหกรณ์โรงเรียน 4. พวงกุญแจห้อยกระเป๋าหาย ระบุรายละเอียดปัญหา:……………………………………………. สาเหตุ:………………………………………………………….. วิธีแก้ปัญหา: ……………………………………………………. ปัญหาในชีวิตประจำวัน
ขั้นตอนการแก้ปัญหา การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหา การดำเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบและประเมินผล
การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ทำความเข้าใจรายละเอียด เงื่อนไข ข้อกำหนดของปัญหา โดยระบุ ข้อมูลเข้า ...................................... ข้อมูลออกหรือสิ่งที่ต้องการ ................................. วิธีตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์ .........................
การวางแผนการแก้ปัญหา รหัสลำลอง ถ่ายทอดความคิดโดยอธิบายเป็นขั้นตอน ผังงาน
ดำเนินการตามที่วางแผนไว้ หรืออาจพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหา โดยใช้โปรแกรมภาษา เช่น C Java Python Scratch Logo Alice การดำเนินการแก้ปัญหา
เป็นขั้นตอนที่ทำพร้อมกันกับการดำเนินการแก้ปัญหา เพื่อตรวจสอบผลลัพธ์ หากไม่ถูกต้องให้ย้อนไปแก้ไข ตั้งแต่ขั้นตอนแรก การตรวจสอบและประเมินผล
ตัวอย่างการหาพื้นที่สามเหลี่ยมตัวอย่างการหาพื้นที่สามเหลี่ยม การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้าคือ • ข้อมูลออกคือ • วิธีตรวจสอบความถูกต้อง เช่น • ความกว้าง 4 ความยาวฐาน 5 ,พื้นที่สามเหลี่ยม = 10 • ความกว้าง 5ความยาวฐาน 10 ,พื้นที่สามเหลี่ยม = 25 • ความกว้าง 3ความยาวฐาน 4 ,พื้นที่สามเหลี่ยม = 6 ความกว้าง ความยาวฐาน พื้นที่สามเหลี่ยม
ตัวอย่างการหาพื้นที่สามเหลี่ยมตัวอย่างการหาพื้นที่สามเหลี่ยม 2. การวางแผนการแก้ปัญหา 1. รับค่าความยาวฐาน 2. รับค่าความสูง 3. คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม จากสูตร พื้นที่ Δ คือ ½ x ความยาวฐาน x ความสูง 4. แสดงผลลัพธ์พื้นที่ Δ
3. การดำเนินการแก้ปัญหา ดำเนินการตามที่วางแผนไว้ คือ ทดลองดำเนินการตามขั้นตอนการวางแผนการปัญหาไว้ โดยอาจใช้วิธีเขียนโปรแกรม เป็นเครื่องมือ หรือทดลองดำเนินการด้วยตนเอง ซึ่งอาจดำเนินการไปพร้อมกับการตรวจสอบและปรับปรุง
3. การดำเนินการแก้ปัญหา (ต่อ) ความยาวฐาน ความสูง 1. รับค่าความยาวฐาน 4 6 2. รับค่าความสูง พื้นที่ Δ = ½ x 4 x 6 = 12 3. คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่ Δ คือ ½ x ความยาวฐาน x ความสูง 12 4. แสดงผลลัพธ์พื้นที่ Δ
4.การตรวสอบและประเมินผล 4.การตรวสอบและประเมินผล พิจารณาผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินการ ว่าผลลัพธ์ถูกต้องไม่ และทดสอบโดยใส่ค่าที่ได้คิดไว้ในขั้นตอนที่ 1 ว่าได้ผลลัพธ์ออกมาตามที่คิดไว้ก่อนหรือไม่ จากตัวอย่าง ลองนำข้อมูลเข้าและข้อมูลออกที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 มาดำเนินการในขั้นตอนที่ 3 แล้วดูผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ได้ให้กลับไปพิจารณาตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1ใหม่ ทำอย่างนี้ไปจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
4. ดำเนินการตรวจสอบและปรับปรุง ความยาวฐาน ความสูง 1. รับค่าความยาวฐาน 4 6 2. รับค่าความสูง พื้นที่ Δ = ½ x 4 x 6 = 12 3. คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่ Δ คือ ½ x ความยาวฐาน x ความสูง 12 4. แสดงผลลัพธ์พื้นที่ Δ
4. ดำเนินการตรวจสอบและปรับปรุง ความยาวฐาน ความสูง 1. รับค่าความยาวฐาน 4 6 2. รับค่าความสูง พื้นที่ Δ = ½ x 4 x 6 = 12 3. คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่ Δ คือ ½ x ความยาวฐาน x ความสูง 12 4. แสดงผลลัพธ์พื้นที่ Δ
ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียน เรื่อง ขั้นตอนการแก้ปัญหา และตัวอย่างที่ 2.1 หน้าที่ 24-27 • ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำใบกิจกรรมที่ 3.1 ปัญหานานาประการ
สถานการณ์ที่ 1ปีหน้านักเรียนต้องการไปแข่งตอบปัญหาวันเด็ก ซึ่งผู้ที่จะมีสิทธิ์เข้าแข่งขันต้องมีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ปีที่ผ่านมา และปีนี้รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ซึ่งปีที่ผ่านมานักเรียนได้คะแนน 3.5 นักเรียนจะตรวจสอบอย่างไรว่าสามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้า คือ คะแนนคณิตศาสตร์ปีนี้ • ข้อมูลออก คือ ผลการตรวจสิทธิ์ในการเข้าร่วมแข่งขัน • วิธีการตรวจสอบข้อมูล เช่น คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ปีนี้ คือ 4 ข้อมูลออก คือ มีสิทธิเข้าร่วมแข่งขัน คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ปีนี้ คือ ..3.5 ........... ข้อมูลออก คือ มีสิทธิเข้าร่วมแข่งขัน คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ปีนี้ คือ ...2.............. ข้อมูลออก คือ ไม่มีสิทธิเข้าร่วมแข่งขัน
สถานการณ์ที่ 1 (ต่อ) ปีหน้านักเรียนต้องการไปแข่งตอบปัญหาวันเด็ก ซึ่งผู้ที่จะมีสิทธิ์เข้าแข่งขันต้องมีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ปีที่ผ่านมา และปีนี้รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ซึ่งปีที่ผ่านมานักเรียนได้คะแนน 3.5 นักเรียนจะตรวจสอบอย่างไรว่าสามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนเพื่อแก้ปัญหา โดยให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อ ก – จ แล้วนำมาเรียงลำดับตามขั้นตอนที่ใช้ในการหาคำตอบ ก.รับค่าคะแนนคณิตศาสตร์ปีนี้ ข. กำหนดคะแนนคณิตศาสตร์ปีที่ผ่านมา ค. คำนวณผลการตรวจสอบสิทธ์ โดยนำ (คะแนนคณิตศาสตร์ปีนี้ + 3.5 ) แล้วหารด้วย 2 ง. คำนวณผลการตรวจสอบสิทธิ์ โดยนำ (คะแนนคณิตศาสตร์ปีนี้ + 2) หารด้วยคะแนนคณิตศาสตร์ปีที่ผ่านมา จ. คำนวณผลการตรวจสอบสิทธ์ โดยนำ คะแนนคณิศาสตร์ปีนี้ + คะแนนคณิตศาสตร์ปีที่ผ่านมา แนวคำตอบ ก ข ค (ก ข สลับที่กันได้)
สถานการณ์ที่ 2พ่อค้าขายขนมที่ตลาด โดยราคาของขนมตาล 2 บาท ขนมสอดไส้ 3 บาท และขนมกล้วย 4 บาทช่วยพ่อค้าคิดราคาขนม เมื่อมีผู้ซื้อสั่งซื้อแต่ละครั้ง ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้า คือ จำนวนชิ้นในการสั่งซื้อขนมแต่ละชนิด • ข้อมูลออก คือ ราคาขนมรวมในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง • วิธีการตรวจสอบข้อมูล เช่น จำนวนสั่งซื้อขนม เป็น ชนมตาล 4 ชิ้น ขนมสอดไส้ 3 ชิ้น และขนมกล้วย 4 ชิ้น ราคารวมคือ 33 บาท จำนวนสั่งซื้อขนม เป็น ชนมตาล 2 ชิ้น ขนมสอดไส้ 2 ชิ้น และขนมกล้วย 2 ชิ้น ราคารวมคือ 16 บาท จำนวนสั่งซื้อขนม เป็น ชนมตาล .3.... ชิ้น ขนมสอดไส้ .3... ชิ้น และขนมกล้วย .3.. ชิ้น ราคารวมคือ ..27.. บาท จำนวนสั่งซื้อขนม เป็น ชนมตาล .2...... ชิ้น ขนมสอดไส้ .2...... ชิ้น และขนมกล้วย .0... ชิ้น ราคารวมคือ ...10. บาท
สถานการณ์ที่ 2 (ต่อ)พ่อค้าขายขนมที่ตลาด โดยราคาของขนมตาล 2 บาท ขนมสอดไส้ 3 บาท และขนมกล้วย 4 บาทช่วยพ่อค้าคิดราคาขนม เมื่อมีผู้ซื้อสั่งซื้อแต่ละครั้ง ขั้นตอนที่ 2การวางแผนการแก้ปัญหา โดยให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อ ก – จ แล้วนำมาเรียงลำดับตามขั้นตอนที่ใช้ในการหาคำตอบ ก. กำหนดราคาขนมตาล 2 บาท ขนมสอดไส้ 3 บาท และขนมกล้วย 4 บาท ข. คำนวณราคาราคาขนมสอดไส้ โดยการนำ จำนวนชิ้นขนมสอดไส้ x ราคาขนมสอดไส้ ค. รับจำนวนชิ้นของขนมตาล ขนมสอดไส้ และขนมกล้วย ง. คำนวณราคาขนมทั้งหมด โดการนำ ราคาขนมตาล + ราคาขนมสอดไส้ + ราคาขนมกล้วย จ. คำนวณราคาราคาขนมกล้วย โดยการนำ จำนวนชิ้นขนมกล้วย x ราคาขนมกล้วย ฉ. แสดงราคาขนมทั้งหมด ช. คำนวณราคาราคาขนมตาล โดยการนำ จำนวนชิ้นขนมตาล x ราคาขนมตาลคำตอบคือ ก ค ข จ ช ง ฉ ( ก และ ค สลับที่กันได้ และ ข จ ช สลับที่กันได้ )
สถานการณ์ที่ 3การคำนวณปริมาณยาพาราเซตามอล ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้า คือ น้ำหนักของผู้ป่วย 35 กิโลกรัม • ข้อมูลออก คือ ปริมาณการให้ยาพาราเซตามอลกับผู้ป่วยซึ่งมีน้ำหนัก 35 กิโลกรัม • วิธีตรวจสอบความถูกต้อง เช่น ข้อมูลเข้าเป็นผู้ป่วยที่มีน้ำหนัก 35 กิโลกรัม ปริมาณยาที่ต้องรับประทาน คือ 1 เม็ด ไม่เกิน 5-6 ครั้งต่อวัน
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา 1. ผู้ป่วยน้ำหนัก 35 กิโลกรัม 2. ตรวจสอบน้ำหนักผู้ป่วยว่าตรงกับเงื่อนไขใด ต่อไปนี้ 2.1 ถ้าผู้ป่วยมีน้ำหนัก 34-50 กิโลกรัม ให้ทานยาพาราเซตามอลเพียง 1 เม็ด ไม่เกิน 5-6 ครั้งต่อวัน 2.2 ถ้าผู้ป่วยมีน้ำหนัก 50-75 กิโลกรัม ให้ทานยาพาราเซตามอล 1 เม็ดครึ่ง ไม่เกิน 4-5 ครั้งต่อวัน 2.3 ถ้าผู้ป่วยมีน้ำหนัก 75 กิโลกรัมขึ้นไป ให้ทานยาพาราเซตามอล 2 เม็ด ไม่เกิน 3-4 ครั้งต่อวัน 3. แสดงผลลัพธ์ว่าผู้ป่วยต้องได้รับยาพาราเซตามอลในปริมาณเท่าใด ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ปัญหา 1. ตรวจสอบว่าผู้ป่วยน้ำหนักเท่าไร โดยในโจทย์กำหนดน้ำหนักผู้ป่วยเท่ากับ 35 กิโลกรัม 2. เปรียบเทียบน้ำหนักของผู้ป่วยกับเงื่อนไขที่กำหนดให้ พบว่า ผู้ที่มีน้ำหนัก 35 กิโลกรัม ตรงกับเงื่อนไขผู้ป่วยที่มีน้ำหนัก 34-50 กิโลกรัม จึงต้องทานยาพาราเซตามอลเพียง 1 เม็ด ไม่เกิน 5-6 ครั้งต่อวัน
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและประเมินผล ตรวจสอบว่าปริมาณยาพาราเซตามอนที่คำนวนได้ ในขั้นตอนที่ 3 ว่าตรงกับข้อมูลที่คิดไว้ในการวิธีตรวจสอบผลลัพธ์ ขั้นตอนที่ 1 ว่า เหมือนกันหรือไม่ และลองทดสอบโดยกำหนดค่าอายุอื่น ว่าได้ปริมาณยาพาราเซตามอน ตรงตามที่เงื่อนไขกำหนดหรือไม่ หากเงื่อนไขกำหนดไว้ครอบคลุม คำตอบที่ได้จะถูกต้อง หากผลลัพธ์ไม่ถูกต้องให้ย้อนกลับพิจารณาใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1
สถานการณ์ที่ 4หาผลรวมน้ำหนักเพื่อนในห้อง ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้า คือ น้ำหนักของเพื่อนในห้อง และจำนวนของเพื่อนในห้อง • ข้อมูลออก คือ ผลรวมน้ำหนักของเพื่อนในห้องทุกคน • วิธีตรวจสอบความถูกต้อง เช่น น้ำหนักของเพื่อน เป็น 35 40 42 38 45 ผลรวมคือ 200 ก. ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา กำหนดผลรวมน้ำหนักของเพื่อนในห้องเริ่มต้น = 0 บวกสะสมน้ำหนักของเพื่อนในห้องให้ครบทุกคน โดย ผลรวมของน้ำหนักของเพื่อน = ผลรวมของน้ำหนักของเพื่อน + น้ำหนักของนักเรียนของแต่ละคน ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ปัญหา กำหนดผลรวม = 0 ดำเนินการบวกน้ำหนักเพื่อนคนที่ 1 กับน้ำหนักรวม เก็บไว้ในผลรวม นำผลรวม บวก น้ำหนักเพื่อนคนถัดไป ทำข้อ 3 จนครบตามจำนวนเพื่อนในห้อง
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและประเมินผล ตรวจสอบผลที่ได้จากขั้นตอนการดำเนินการ ว่าตรงกับวิธีตรวจสอบความถูกต้องในขั้นที่ 1 หรือไม่ แล้วลองทดสอบโดยกำหนดน้ำหนักของเพื่อนค่าอื่นด้วยว่าได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งอาจจะดำเนินบวกเอง แล้วเปรียบเทียบผลลัพธ์ ว่าเหมือนกันหรือไม่ หากผลลัพธ์ไม่ถูกต้องให้ย้อนกลับพิจารณาใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1
สถานการณ์ที่ 5 พาของสามสิ่งข้ามฝั่ง ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา • ข้อมูลเข้า คือ ของสามสิ่งที่ต้องข้ามฝั่งแม่น้ำ มีผักกาด แกะและหมาป่า โดยมีเรือพาย 1 ลำ และคนพายเรือ 1 คน • ข้อมูลออก คือ ผักกาด แกะ และ หมาป่า ข้ามฝั่งได้ • วิธีตรวจสอบความถูกต้อง ตรวจโดยจำลองสถานการณ์ ตามประเด็นต่อไปนี้ ของสามสิ่งข้ามฝั่งแม่น้ำไปอีกฝั่งครบแล้ว คนพายเรือนำของลงเรือข้ามฝั่งได้ครั้งละ 1 อย่าง เงื่อนไขของของบนฝั่ง แกะจะต้องไม่อยู่บนฝั่งกับผักกาด หมาป่าจะต้องไม่อยู่บนฝั่งกับแกะ
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา 1. เริ่มต้นพิจารณาฝั่งซ้าย เงื่อนไข คือ • แกะจะต้องไม่อยู่บนฝั่งกับผักกาด • หมาป่าจะต้องไม่อยู่บนฝั่งกับแกะ 2. เรือว่างหรือไม่ 2.1 ให้เลือกนำของที่ละเมิดเงื่อนไขบนฝั่ง หรือ อะไรก็ได้ ลงเรือไปฝั่งตรงข้าม (เรือว่าง) ไม่เช่นนั้น (เรือไม่ว่าง) 2.2 ให้สลับของที่ “กิน” กันตามเงื่อนไขในเรือกับบนฝั่ง หรือ ส่งของขึ้นฝั่งถ้าฝั่งว่าง หรือ ถ้าไม่ละเมิดเงื่อนไข แล้วไปฝั่งตรงข้าม 3. กลับไปทำข้อ 2จนกว่าจะมีของบนฝั่งขวาครบ 3 สิ่ง
การดำเนินการแก้ปัญหา และตรวจสอบและปรับปรุง
นักเรียนศึกษาเนื้อหา หัวข้อ 2.2 และ 2.3 จากหนังสือเรียน
ร่วมกันสรุป • รหัสลำลอง • ผังงาน • ตัวแปร
รหัสลำลอง • รหัสลำลองเป็นการใช้คำบรรยายอธิบายขั้นตอนวิธีอย่างชัดเจนในการแก้ปัญหาหรือการทำงานของโปรแกรม • รูปแบบการเขียน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความถนัดของผู้เขียน • เขียนเป็นภาษาพูด • ง่าย ไม่ต้องกังวลรูปแบบ • เขียนในรูปแบบที่คล้ายกับภาษาโปรแกรม • สามารถนำไปดัดแปลงเป็นโปรแกรมได้ง่าย
ตัวอย่าง รหัสลำลองและผังงานการคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม เริ่มต้น รับค่าความยาวฐาน รับค่าความสูง เริ่มต้น 1. รับค่าความยาวฐาน 2. รับค่าความสูง 3. คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม จากสูตร ½ x ความยาวฐาน x ความสูง 4. แสดงผลลัพธ์ พื้นที่สามเหลี่ยม จบ พื้นที่สามเหลี่ยม = ½ x ความกว้าง x ความยาว แสดงผลลัพธ์พื้นที่สามเหลี่ยม จบ
ตัวอย่าง รหัสลำลองและผังงานทีมีการทำงานแบบวนซ้ำ
การกำหนดค่าให้ตัวแปรในรหัสลำลองและผังงานการกำหนดค่าให้ตัวแปรในรหัสลำลองและผังงาน ทำไมต้องกำหนดค่าให้ตัวแปร ชื่อข้อมูลมีความยาวมากหรือมีการอ้างถึงชื่อข้อมูลซ้ำกันหลายครั้ง ทำให้เกิดความสับสนและเมื่อมีการอ้างอิงหลายครั้งอาจมีความผิดพลาดและยุ่งยากในการแก้ไข ดังนั้นจึงใช้ตัวแปรแทนชื่อข้อมูล ให้สามารถนำไปใช้งานได้ง่ายและกระชับ โดยอาจใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่สื่อความหมาย และอาจประกอบกับตัวเลขได้ในบางกรณี การกำหนหนดชื่อตัวแปร เช่น • อายุนักเรียน age • พื้นที่สามเหลี่ยมarea • ความยาวฐานbase • คะแนนเฉลี่ยavg
การกำหนดค่าให้ตัวแปร สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร คือ ← , <- ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ←ไปกำหนดให้กับตัวแปรทางด้านซ้ายของ← รับค่าจากภายนอก กำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่น กำหนดค่าจากการคำนวณ x ← 2 x ← รับข้อมูอายุจากผู้ใช้ x ← x + 1 a ← b x c
x y ไม่มีผลกับค่า y แล้ว การเก็บค่าของให้ตัวแปร • ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตัวแปรจะมีค่าได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น • ตัวแปรสามารถเปลี่ยนค่าได้ ขึ้นอยู่กับการดำเนินการกับตัวแปรนั้น ๆ X X 5 ? 5 20 22 9 X 20 X x + 2 y y X x 2 ? 44 x 9
ตัวอย่าง การนำตัวแปรไปใช้ในรหัสลำลองและผังงาน เริ่มต้น เริ่มต้น 1. width <- รับค่าความกว้าง 2. height <- รับค่าความยาว 3. squareArea=widthx height 4. แสดงผลลัพธ์ squareArea จบ Width <- รับค่าความกว้าง Height <- รับค่าความยาว squareArea= width x height แสดงผลลัพธ์squareArea จบ
กิจกรรม • ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทำภารกิจด่านที่ 1 - 4 ในใบกิจกรรมที่ 3.2
ผู้เรียนทำกิจกรรมท้ายบทจากหนังสือเรียนผู้เรียนทำกิจกรรมท้ายบทจากหนังสือเรียน • ร่วมกันสรุปแนวคิดเกี่ยวการแก้ปัญหา • นำไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
ผู้เรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบผู้เรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบ • กิจกรรมที่ 3 ปัญหาของฉัน