520 likes | 676 Views
สอบกลางภาค. วันพุธที่ 3 สิงหาคม 2548 เวลา 8.00-11.00 น. หัวข้อที่จะเรียนในวันนี้. ความหมายของตลาด ความสำคัญของตลาด หน้าที่ของตลาด ช่องทางการตลาด ลักษณะของตลาด แหล่งหาข้อมูลด้านการตลาด เขตการค้าเสรี. 1.3 ตลาดในเศรษฐกิจโลก. ตลาดคืออะไร.
E N D
สอบกลางภาค วันพุธที่ 3 สิงหาคม 2548 เวลา 8.00-11.00 น.
หัวข้อที่จะเรียนในวันนี้หัวข้อที่จะเรียนในวันนี้ • ความหมายของตลาด • ความสำคัญของตลาด • หน้าที่ของตลาด • ช่องทางการตลาด • ลักษณะของตลาด • แหล่งหาข้อมูลด้านการตลาด • เขตการค้าเสรี
1.3 ตลาดในเศรษฐกิจโลก ตลาดคืออะไร ในทางเศรษฐศาสตร์: การตกลงแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้า ความหมายทั่วไป : สถานที่ผู้ซื้อและผู้ขายมีทางติดต่อกันได้โดยสะดวก จนสามารถทำการแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้ากันได้
1.3 ตลาดในเศรษฐกิจโลก ตลาดคืออะไร การตลาด:การประกอบกิจกรรมต่างๆ ที่จะนำเอาสินค้าและบริการจากแหล่งผลิต ไปถึงมือผู้บริโภคใน เวลาสถานที่ รูปลักษณะ และใน จำนวน ที่ต้องการ หน้าที่ตลาด : อำนวยความสะดวกให้ฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อได้ทำการแลกเปลี่ยน
ความสำคัญของการตลาด • ช่วยทำให้ผู้ผลิตทำการผลิตสินค้าได้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค • ให้ผู้บริโภคมีสินค้าไว้กิน ไว้ใช้ตลอดเวลา • เพื่อนำสินค้าไปขายถึงถิ่นที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค • เพื่อให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าได้ตามลักษณะต้องการ • ให้ผู้บริโภคมีการกินดีอยู่ดีขึ้น • ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวสูงขึ้น
หน้าที่ของการตลาด: อำนวยความสะดวกให้ฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อได้ทำการแลกเปลี่ยน • จัดหาสินค้า • เก็บรักษาสินค้า • ขายสินค้าและบริการ • กำหนดมาตรฐานสินค้า • ขนส่ง • การป้องกันการเสี่ยงภัย • การเงิน
ความเชื่อมโยงของหน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจความเชื่อมโยงของหน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจ ราคา/มูลค่าสินค้าและบริการ สินค้าและบริการ หน่วยธุรกิจ/ผลิต ครัวเรือน/บริโภค ปัจจัยการผลิต: ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ ค่าตอบแทน: ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกำไร คนกลาง ตลาดผลผลิต S D การแลกเปลี่ยน คนกลาง S D ตลาดปัจจัยการผลิต หน่วย ศก. อย่างง่าย
คนกลาง • การแปรรูป-เก็บรักษา • ลักษณะ • เวลา ช่องทางการตลาด การเคลื่อนย้ายของสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ตัวแทนจำหน่าย ผู้ผลิต ผู้บริโภค พ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีก
ลักษณะของตลาด • ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (perfect competition) • ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างไม่สมบูรณ์ • 2.1 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (monopolistic competition) • 2.2 ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย (oligopoly) • 2.3 ตลาดที่มีผู้ขายเพียง 2 ราย (duopoly) • 2.4 ตลาดผูกขาด (monopoly)
ตัวแปรสำคัญในการแบ่งประเภทตลาดตัวแปรสำคัญในการแบ่งประเภทตลาด • จำนวนผู้ผลิต/ผู้ขาย • ความยากง่ายในการหาสินค้าอื่นมาทดแทน • ความยากง่ายในการเข้าหรือออกตลาด
จุดมุ่งหมายในการจำแนกตลาดจุดมุ่งหมายในการจำแนกตลาด • ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของตลาดประเภทต่างๆ • ราคา • ปริมาณการผลิต • หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคา • ลักษณะของกำไร/ขาดทุนในระยะสั้นและระยะยาว ** ใช้ได้กับทั้ง ตลาดผลผลิต ปัจจัยการผลิต และการเงิน**
ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (เสรี) • มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก • สินค้าที่ซื้อขายมีลักษณะอย่างเดียวกัน • ผู้ซื้อ ผู้ขาย มีความรอบรู้เรื่องตลาดอย่างสมบูรณ์ • การติดต่อซื้อขายสามารถกระทำได้อย่างสะดวก • หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจได้อย่างเสรี
ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (เสรี) (ต่อ) • หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจได้อย่างเสรี • แต่ละธุรกิจมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับตลาด • ไม่มีอิทธิพลต่อราคา ราคา เกิดจากอุปสงค์อุปทานอย่างแท้จริง • ยอมรับราคา • สุดขั้ว
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด • มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก • ผู้ซื้อ ผู้ขายแต่ละรายมีอิสระในการวางนโยบายการซื้อ การขายของตนโดยไม่กระทบกระเทือนคนอื่น • สินค้าที่ซื้อขาย มีลักษณะหรือมาตรฐานแตกต่างกัน
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (ต่อ) • สินค้าเดียวกัน มีหลายตรา หลายยี่ห้อ การบรรจุหีบห่อ การโฆษณาแตกต่างกัน • ผู้ขายสามารถกำหนดราคาสินค้าของตนได้ ผู้ซื้อพึงพอใจใน ตราหรือยี่ห้อที่แตกต่างกัน • ยังมีการแข่งขันกันระหว่างผู้ขาย
ตลาดที่มีผู้ขายน้อย • มีผู้ขายจำนวนไม่กี่ราย • ผู้ขายแต่ละรายขายสินค้าเป็นจำนวนมาก เมื่อเทียบกับปริมาณสินค้าทั้งหมดในตลาด • การเปลี่ยนราคา หรือนโยบายของผู้ผลิต/ผู้ขายแต่ละราย มีผลกระทบต่อรายอื่นๆ
ตลาดที่มีผู้ขายน้อย (ต่อ) • สินค้าที่ซื้อขาย มีลักษณะหรือมาตรฐานแตกต่างกัน • ผู้ขายทุกคนมีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา และปริมาณสินค้าในตลาด • ยังมีการแข่งขันกันระหว่างผู้ขาย
ตลาดที่มีผู้ขาย 2 ราย • คล้ายกับตลาดผู้ขายน้อยราย • มีผู้ขาย 2 ราย • สินค้าที่ซื้อขาย มีลักษณะคล้ายกันมากหรือแตกต่างกันเพียงส่วนน้อย • ผู้ขายทุกคนมีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา และปริมาณสินค้าในตลาด • ยังมีการแข่งขันกันระหว่างผู้ขาย
ตลาดผูกขาด • มีเพียงธุรกิจเดียวในตลาด • ธุรกิจใหม่เข้ามาในตลาดได้ยากมาก • มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา และปริมาณสินค้าในตลาดอย่างสมบูรณ์ กำหนดราคาตลาด • สุดขั้ว
ทำไมเป็นตลาดผูกขาด • เนื่องจากต้นทุนคงที่สูง • การกีดขวางธุรกิจใหม่ • กฎระเบียบของรัฐบาล • การได้รับสิทธิแต่ผู้เดียว • การประหยัดต่อขนาด • การเป็นเจ้าของทรัพยากรขาดแคลน
การจำแนกตลาดโดยทั่วไปการจำแนกตลาดโดยทั่วไป • จำแนกตามภูมิศาสตร์ • ตลาดท้องถิ่น • ตลาดภายในประเทศ • ตลาดต่างประเทศ และตลาดโลก • จำแนกตามสิ่งที่ซื้อขาย • ตลาดผลผลิต เช่น ตลาดซื้อขายรถยนต์มือสอง • ตลาดปัจจัยการผลิต เช่น ตลาดแรงงาน ตลาดที่ดิน
การจำแนกตลาดโดยทั่วไป (ต่อ) • จำแนกตามสภาพหรือลักษณะของการซื้อขาย • ตลาดกลาง • ตลาดขายส่งและขายปลีก • ตลาดค้าปลีก • ตลาดอื่นๆ • ตลาดการเงิน • ตลาดทุน • ตลาดเงินตราต่างประเทศ • ตลาดซื้อขายล่วงหน้า
Website ที่มีข้อมูลด้าน ตลาด ส/ค เกษตร ในเศรษฐกิจโลก
มูลค่าการส่งออกจำแนกตามหมวดสินค้ามูลค่าการส่งออกจำแนกตามหมวดสินค้า ที่มา กรมศุลกากร
การส่งออก • ปี 2500 ไทยส่งออกสินค้าสำคัญ ๆ เพียง 3-4 ชนิด :- ข้าว ยางพารา และไม้สัก (ที่เหลือจากการใช้ในประเทศ) • ต่อมา มีการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชมากชนิดขึ้น และเริ่มส่งออกสินค้าเกษตรหลากหลาย • ปี 2544-2547: สินค้าเกษตรส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ยางพาราและผลิตภัณฑ์ น้ำตาลทราย และข้าวโพด
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ที่มา กรมศุลกากร
มูลค่าการส่งออกจำแนกตามประเภทสินค้ามูลค่าการส่งออกจำแนกตามประเภทสินค้า มูลค่าส่งออกจำแนกตามชนิดสินค้า • มูลค่าส่งออกจำแนกตามสินค้า
ประมาณการเบื้องต้นเกี่ยวกับข้าวโลก 47/48คาดคะเน ณ 8 เมษายน 2548 • ผลผลิตข้าวโลก 401 ตันข้าวสาร • ใช้ในประเทศ (ทั่วโลก)413 ล้านตันข้าวสาร • การค้าโลก ประมาณ 25ล้านตันข้าวสาร • สต๊อกปลายปี 47 74 ล้านตันข้าวสาร • ปริมาณ-มูลค่าส่งออก ข้าวของไทยปี 2547 ปริมาณ 10 ล้านตันมูลค่า 108 พันล้านบาท ที่มา วารสารข่าวเศรษฐกิจการเกษตร สนง. ศก.การเกษตร (พ.ค. 48)
การเกษตรของประเทศไทย ลักษณะการประกอบการเกษตรในประเทศไทย • เกษตรกรมีจำนวนมาก และส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย (90% ของเกษตรกรทั้งประเทศ) • ขนาดไร่นาของเกษตรกรโดยเฉลี่ย 23.17 ไร่/ครัวเรือน
ขนาดพื้นที่ทำกินของเกษตรกรขนาดพื้นที่ทำกินของเกษตรกร ไร่/ครัวเรือน ที่มา : สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปีการเพาะปลูก 2532/33 และ 2544/45
เปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่ของสินค้าเกษตรบางชนิดในประเทศต่าง ๆ ปี 2544 หน่วย : กก. /ไร่ สนง เศรษฐกิจการเกษตร
ผลผลิตรวมและผลผลิตเฉลี่ยของพืชเศรษฐกิจบางชนิด ปีเพาะปลูก 2535/36-2544/45 สนง เศรษฐกิจการเกษตร
มูลค่าของผลิตผลตามราคาฟาร์มของสินค้าเกษตรบางประเภท ปี 2544/45 สนง เศรษฐกิจการเกษตร
ผลผลิตเกษตรบางชนิดแยกรายภาค ปี 2544/45 หน่วย : พันตัน
FTA คืออะไร (FTA : Free Trade Agreements) เป็นความตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ อาจเป็นความตกลงสองฝ่ายหรือหลายฝ่าย อาจเป็นความตกลงทางการค้าเฉพาะสินค้าหรือรวมบริการด้วย มีเป้าหมายเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้า มุ่งเน้นที่จะลดปัญหาทางด้านภาษีและไม่ใช่ภาษี
FTAต่างกับ WTO • WTO • เป็นความตกลงเปิดกว้าง(สมาชิกมาก) • มีกฎกติกาเป็นระบบและครอบคลุมทุกเรื่อง • มีองค์กรบริหาร • องค์กรกลางตัดสินข้อขัดแย้ง FTA • เป็นความตกลงเฉพาะกลุ่มหรือ ประเทศคู่ค้า (สมาชิกน้อย) • ใช้กฎกติกาเฉพาะเรื่อง • ไม่มีองค์กรบริหาร • คู่สัญญาหรือผู้มีส่วนได้เสียตกลงกันเอง
ลักษณะโดยทั่วไปของเขตการค้าเสรีลักษณะโดยทั่วไปของเขตการค้าเสรี 1) ดำเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงานกันทำ 2) ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน (Protective Duty) เพื่อคุ้มครองช่วยเหลืออุตสาหกรรมในประเทศ เก็บแต่ภาษีศุลกากรเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ 3) ไม่ให้สิทธิพิเศษ หรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง เก็บภาษีอัตราเดียว และให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่าๆ กัน 4) ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า (Trade Restriction) ยกเว้น สินค้าบางอย่างที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อนามัย ศีลธรรมจรรยาหรือความมั่นคงของรัฐ
ผลดีของการทำเขตการค้าเสรีผลดีของการทำเขตการค้าเสรี 1) ก่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพตามหลักการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ การแบ่งงานกันทำ และการประหยัดต่อขนาด สามารถผลิตได้จำนวนมากขึ้น ต้นทุนต่ำลง 2) ทำให้ตลาดกว้างขึ้น เกิดการค้าระหว่างกันเพิ่มมากขึ้น มีการกระจายของแหล่งวัตถุดิบมากขึ้น 3) ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ 4) กระตุ้นการแข่งขันและพัฒนาการทางเทคโนโลยี 5) เป็นการเปิดเสรีอย่างค่อยเป็นค่อยไป ก่อนที่จะเปิดเสรีกับคู่แข่งทั่วโลก (ช่วยให้ผู้ประกอบการ สามารถปรับตัวได้ง่ายขึ้น)
ผลเสียของการทำเขตการค้าเสรีผลเสียของการทำเขตการค้าเสรี 1) กระทบต่ออุตสาหกรรมใหม่ ที่ยังไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ 2) หากประเทศคู่ค้ามีโครงสร้างการผลิตเหมือนกัน จะทำให้เกิดการแข่งขันกันไม่เกื้อหนุนกัน เกิดกรณีสินค้าประเภทเดียวกันเข้ามาตีตลาด 3) เป็นการทำลายระบบ WTO ว่าด้วยการไม่ให้เลือกปฏิบัติระหว่างประเทศคู่ค้า 4) การจัดทำเขตการค้าเสรีคู่หนึ่ง จะกระตุ้นให้ประเทศอื่น จัดทำเขตการค้าเสรีด้วย นำไปสู่ความขัดแย้งทางการค้ามากขึ้น เนื่องจากประเทศนอกเขตการค้าเสรีนั้นจะถูกกีดกันทางการค้า
ผลเสียของการทำเขตการค้าเสรี (ต่อ) 5) ส่วนมากประเทศใหญ่มักได้เปรียบประเทศเล็ก ในด้าน อำนาจการเจรจาต่อรอง 6) การจัดทำเขตการค้าเสรีอาจจะทำให้ประเทศหนึ่งเข้าสู่สภาวะการพึ่งพาทางเศรษฐกิจประเทศหนึ่งมากเกินไป (Over Dependency) 7) เกิดการเบี่ยงเบนทิศทางการค้า (Trade Diversion) 8) ประเทศนอกกลุ่มจะพยายามส่งสินค้าเข้าทางประเทศในเขตการค้าที่มีภาษีต่ำ ไปสู่ประเทศในเขตการค้าที่มีภาษีสูง
ตารางมูลค่าการค้ารวมของประเทศจีนกับไทยตารางมูลค่าการค้ารวมของประเทศจีนกับไทย
สรุปหัวข้อที่เรียนในวันนี้สรุปหัวข้อที่เรียนในวันนี้ • ความหมายของตลาด • ความสำคัญของตลาด • หน้าที่ของตลาด • ช่องทางการตลาด • ลักษณะของตลาด • แหล่งหาข้อมูลด้านการตลาด • เขตการค้าเสรี