560 likes | 1.11k Views
บทที่ 7 การเงิน( Financing). ธุรกิจมีแหล่งที่มาของเงินทุน 2 แหล่งคือ 1. จากแหล่งภายใน ( Internal Sources ) ได้แก่ - ค่าเสื่อมราคา - กำไรสะสม - จำหน่ายหุ้นให้ญาติพี่น้องในครอบครัว 2. จากแหล่งภายนอก ( External Sources ) - จากการกู้ยืม / ก่อหนี้
E N D
ธุรกิจมีแหล่งที่มาของเงินทุน 2 แหล่งคือ 1. จากแหล่งภายใน (Internal Sources) ได้แก่ - ค่าเสื่อมราคา - กำไรสะสม - จำหน่ายหุ้นให้ญาติพี่น้องในครอบครัว 2. จากแหล่งภายนอก ( External Sources ) - จากการกู้ยืม / ก่อหนี้ - การเพิ่มทุนจดทะเบียน - การซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ
เงินทุน ภายนอก เงินทุน ภายใน ธุรกิจ
แหล่งที่มาของเงินทุน 1. เงินทุนระยะสั้น (Short-Term Financing) 2. เงินทุนระยะปานกลาง (Intermediate-Term Financing) 3. เงินทุนระยะยาว (Long-Term Financing)
การจัดหาเงินทุนระยะสั้น (Short - Term Financing)
การจัดหาเงินทุนระยะสั้น (Short-term financing) ปัญหาเงินทุนระยะสั้นอาจเกิดจากสาเหตุ 1. ขายสินค้าเป็นจำนวนมาก แต่เก็บเงินไม่ได้ 2. สินค้าที่เป็นฤดูกาล การเตรียมสินค้าอาจ ทำให้ต้นทุนจม กับสินค้าคงคลัง เช่น เสื้อหนาว 3. จำเป็นต้องชำระเงินล่วงหน้าจำนวนมาก เช่น เงินมัดจำ
ประเภทเงินทุนระยะสั้นประเภทเงินทุนระยะสั้น 1. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accruals) 2. เจ้าหนี้การค้า หรือ สินเชื่อทางการค้า (Trade Credit) 3. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) 4. เงินกู้ระยะสั้น (Short Term Loan)
1. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accruals) • ค่าใช้จ่ายที่กิจการที่จะต้องจ่ายหรือได้รับบริการแล้ว • ค่าแรงงานพนักงาน • เงินประกันสังคม • ภาษีเงินได้ของพนักงาน • ภาษีการค้า ฯลฯ
2. เจ้าหนี้การค้า หรือ สินเชื่อทางการค้า (Accounts Payable or Trade Credit) • เป็นข้อตกลงเงื่อนไขระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายสินค้า อาจมีเงื่อนไข และส่วนลด ที่แตกต่างกันออกไป ตามสถานการณ์ เช่น ปริมาณที่สั่ง ระยะทาง ความสนิทส่วนตัว ฯลฯ
สินเชื่อทางการค้าแบ่งตามวิธีการให้สินเชื่อสินเชื่อทางการค้าแบ่งตามวิธีการให้สินเชื่อ 1. โดยการเปิดบัญชีเงินเชื่อ (Open Account) 2. โดยการใช้ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) 3. โดยการรับรองตั๋วเงิน (Trade Acceptance)
โดยการเปิดบัญชีเงินเชื่อ (Open Account) • พิจารณาคุณสมบัติของผู้ซื้อ • เช่น ติดต่อกันมานาน ความสนิทสนมส่วนตัว • ผู้ขาย ส่งสินค้า + invoice (ใบกำกับสินค้า) • + เงื่อนไขทางการค้า • ผู้ซื้อ รับสินค้า + คืนสำเนา invoice ผู้ขาย เป็นเจ้าหนี้การค้า ผู้ซื้อ เป็นลูกหนี้การค้า ชำระหนี้สินตามเงื่อนไขการค้า
ติดต่อขอซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อติดต่อขอซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ ผู้ซื้อ (ธุรกิจ) ผู้ขาย (เจ้าหนี้) (Open Account)
โดยการใช้ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) • ผู้ขายจะลดความเสี่ยง ที่ผู้ขายไม่แน่ใจกับ Open Account โดยให้ผู้ซื้อออกตั๋วสัญญาใช้เงิน เพื่อเป็นหลักฐานการเป็นหนี้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม.982 ถ้ามีปัญหา ผู้ขายสามารถใช้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน ฟ้องร้องได้
ตัวอย่าง “ตั๋วสัญญาใช้เงิน” เลขที่.................. ตั๋วสัญญาใช้เงิน มหาวิทยากรุงเทพ 10,000 บาท 1 มกราคม 2551 สามเดือนนับจากวันนี้ ข้าพเจ้าสัญญาว่าจะจ่ายเงินจำนวนหนึ่งหมื่นบาทพร้อมทั้งดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อปี ให้แก่ นายองอาจ สายบัวทอง หรือตามคำสั่งสำหรับมูลค่าที่ได้รับ นายสมหวัง บุญคงช่วย (ลายเซ็น) (ผู้จ่ายเงิน)
โดยการรับรองตั๋วเงิน (Trade Acceptance) • ผู้ขายเป็นผู้ออกตั๋วแลกเงินและให้ผู้ซื้อเป็นผู้รับรอง • เรียกว่า ตั๋วเงินที่รับรอง (Trade Acceptance) • หรือให้ผู้ซื้อนำตั๋วไปให้ธนาคารรับรองแทน • เรียกว่า ตั๋วเงินที่ธนาคารรับรอง (Bank Acceptance) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม.908 ตั๋วเงินนี้สามารถไปขายลดได้ ผู้ขายยอมเสียส่วนลด (Discount)
ตัวอย่าง “ตั๋วแลกเงิน” ตั๋วแลกเงิน เลขที่...........…...... สถานที่............................... วัน......เดือน.........พ.ศ. ..................... กำหนดเวลาจ่ายเงิน..................................................................โปรดจ่ายเงินให้ นายสมทรง กิมพร หรือตามคำสั่งจำนวนเงิน.............................................................บาทพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ...............ต่อปี ณ. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด ถึง......นางกาญจนา สวาทสุข .................(ผู้จ่ายเงิน) 234 ถ. สุโขทัย “รับรองแล้ว” กนก กรุงเทพ อาพร ลายเซ็น 10 ม.ค. 2551 ผู้สั่งจ่าย
เงื่อนไขทางการค้า (Term of Credit) กำหนดเวลาเริ่มต้นของเงื่อนไขสินเชื่อ 1. กำหนดวันเริ่มต้นใน invoice เช่น 2/10, n/10 หมายถึง จะชำระค่าสินค้าอีก 10 วันหลังจากได้รับ invoice 2. กำหนดวันนับตั้งแต่วันได้รับสินค้าจริง AOGหรือROG เพราะผู้ซื้ออาจอยู่ใกล้ ไกลได้รับสินค้าแตกต่างกัน เช่น n/10 AOG 3. กำหนดวันเริ่มต้นจากวันสิ้นเดือนที่ซื้อสินค้านั้น เช่น n/10 EOM
การกำหนดเวลาที่จะได้รับส่วนลด การกำหนดเวลาที่จะได้รับส่วนลด • เช่น 2/10 n/30 • การกำหนดอัตราส่วนลด • ขึ้นกับสภาพการแข่งขันและฐานะการเงินของผู้ขาย • การกำหนดเวลาที่ชำระหนี้ • ขึ้นกับสภาพการแข่งขันและฐานะการเงินของผู้ขาย
ต้นทุนสินเชื่อทางการค้า (Cost of Trade Credit) ผู้ซื้อไม่สามารถมาชำระหนี้ภายในกำหนดเวลา = (ส่วนลดเงินสดที่ไม่ได้รับ) * 360) / (จำนวนเงินสดสุทธิหลังหักส่วนลด)*(จำนวนวันนับจากวันครบกำหนดส่วนลดถึงวันชำระเงิน) เงื่อนไขทางการค้าที่กำหนดเป็น 2/10,n/30 (2 x 365 x 100) = 37.2% 98 x 20
ข้อดีของสินเชื่อทางการค้าข้อดีของสินเชื่อทางการค้า 1. เป็นแหล่งที่มาของเงินทุนที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องขอ เหมือนกับขอจากสถาบันการเงิน 2. มีความคล่องตัวในการก่อหนี้ 3. กิจการขนาดเล็กก็สามารถจัดการเงินทุนวิธีนี้ได้ ข้อเสียของสินเชื่อทางการค้า ผู้ซื้อถ้าไม่มาชำระตามเงื่อนไขจะทำให้ต้นทุนสินค้ามากขึ้น
ตราสารทางพาณิชย์ (Commercial Paper) • ลักษณะของตราสารทางพาณิชย์ • ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) • ออกโดยไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน • บริษัทเงินทุน เป็นผู้ออกตั๋ว ให้กับธุรกิจ
ขายตราสาร ทางพาณิชย์ ประชาชน ธุรกิจ สถาบันการเงิน เงิน
วิธีการซื้อขายตราสารทางพาณิชย์วิธีการซื้อขายตราสารทางพาณิชย์ • จำหน่ายโดยตรง • ออกจำหน่ายผ่านนายหน้าค้าหลักทรัพย์ ข้อดี กิจการมีชื่อเสียง สามารถนำตั๋วไปขายได้ง่าย ข้อเสีย ถ้าครบกำหนด แล้วไถ่ถอนไม่ได้ จะเสียชื่อ
เงินกู้ระยะสั้น (Short term loans) • มีกำหนดเวลาใช้คืนไม่เกิน 1 ปี มี 2 ชนิด • 1. เงินกู้แบบไม่มีหลักประกัน (Unsecured Loans) • 2. เงินกู้ชนิดมีหลักประกัน (Secured Loans)
เงินกู้แบบไม่มีหลักประกัน (Unsecured Loans) • เงินกู้แบบเบิกเกินบัญชี (O/D) => ใช้เช็ค • 2. การกู้ยืมแบบกำหนดวงเงินสินเชื่อ(Line of Credit) ธนาคารกำหนดวงเงินสูงสุดตามที่ผู้กู้ขอมา • 3. การกู้ยืมแบบเครดิตหมุนเวียน(Revolving Credit) • 4. เงินกู้เฉพาะกรณี(Transaction Loan) เช่น ธุรกิจก่อสร้าง เมื่อเสร็จแล้วก็จะนำมาคืนแก่ธนาคาร
เงินกู้แบบเบิกเกินบัญชี (O/D) => ใช้เช็ค
2. การกู้ยืมแบบกำหนดวงเงินสินเชื่อ(Line of Credit) กำหนดวงเงินให้กู้ ระยะเวลาสั้น ไม่กำหนดเวลาคืน เรียกคืนได้ตลอดเวลา ธนาคาร ธุรกิจ
3. การกู้ยืมแบบเครดิตหมุนเวียน(Revolving Credit) กำหนดวงเงินให้กู้ ระยะเวลาสั้น มีกำหนดเวลาคืนแน่นอน สามารถต่อสัญญาได้ ธนาคาร ธุรกิจ
4. เงินกู้เฉพาะกรณี(Transaction Loan) กำหนดวงเงินให้กู้ ระยะเวลาสั้น มีกำหนดเวลาคืนแน่นอน ธนาคาร ธุรกิจ
ต้นทุนของเงินกู้จากธนาคาร (The cost of bank loan) • ลูกค้ารายเล็ก • ลูกค้ารายใหญ่ และฐานะการเงินดี ใช้ prime rate
วิธีการคำนวณอัตราดอกเบี้ยวิธีการคำนวณอัตราดอกเบี้ย • 1. อัตราดอกเบี้ยธรรมดาผู้กู้จะได้เงินกู้ตามวงเงิน • 2. อัตราดอกเบี้ยส่วนลด ธนาคารจะหักดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้า
อัตราดอกเบี้ยธรรมดาผู้กู้จะได้เงินกู้ตามวงเงินอัตราดอกเบี้ยธรรมดาผู้กู้จะได้เงินกู้ตามวงเงิน EX. นาย ก. กู้เงิน 10,000 บาท ธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ย 8% ต่อปี ดอกเบี้ย = 8% x 10,000 = 800 อัตราดอกเบี้ย = 800 x 100 = 8% 10,000
อัตราดอกเบี้ยส่วนลด ธนาคารจะหักดอกเบี้ยไว้ล่วงหน้า EX. นาย ก. กู้เงิน 10,000 บาท ธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ย 8% ต่อปี ดอกเบี้ย = 8% x 10,000 = 800 อัตราดอกเบี้ย = 800 x 100 = 8.7% (10,000-800)
การเลือกธนาคาร 1. นโยบายในการยอมรับความเสี่ยง 2. การให้คำแนะนำ 3. ความจริงใจต่อลูกค้า 4. ความเชี่ยวชาญพิเศษ 5. วงเงินกู้สูงสุด 6. การบริการด้านอื่น ๆ
เงินกู้แบบมีหลักประกัน (Secured Loans) 1. การกู้โดยมีลูกหนี้เป็นหลักประกัน (Receivable Loan ) 2. การกู้โดยมีสินค้าเป็นหลักประกัน(Inventory Loan)
การกู้โดยมีลูกหนี้เป็นหลักประกัน (Receivable Loan) 1. การใช้บัญชีลูกหนี้เป็นหลักประกัน (Assignment of Account Receivable) 2. การนำบัญชีลูกหนี้ไปขาย (Factoring of Account Receivable)
บัญชีลูกหนี้ ที่ยังไม่ครบ กำหนด ธุรกิจ ธนาคาร เงินทุน การใช้บัญชีลูกหนี้เป็นหลักประกัน
ขายลด บัญชีลูกหนี้ ธุรกิจ ธนาคาร เงินทุน การนำบัญชีลูกหนี้ไปขาย
การกู้โดยมีสินค้าเป็นหลักประกันการกู้โดยมีสินค้าเป็นหลักประกัน • (Inventory Loan) มี 2 วิธี • Terminal Warehouse Receipt • 2) Field Warehouse Receipt
สินค้า ในโกดัง ฝาก คลังสินค้า สาธารณะ ธุรกิจ เงินทุน ธนาคาร ใบรับฝาก Terminal Warehouse Receipt
สินค้าใน โกดัง ส่งคนมาเฝ้า คลังสินค้า สาธารณะ ธุรกิจ เงินทุน ธนาคาร ใบรับฝาก Field Warehouse Receipt
การกู้โดยมีสินค้าเป็นหลักประกัน (Inventory Loan) มี 2 วิธี หลักเกณฑ์ในการพิจารณา 1. มูลค่าสินค้า 2. คุณภาพและความคงทน 3. ความต้องการของตลาด
ข้อดีการจัดหาเงินทุนระยะสั้นข้อดีการจัดหาเงินทุนระยะสั้น 1. มีความรวดเร็วในการจัดหา 2. มีความยืดหยุ่น 3. ต้นทุนเงินทุนต่ำกว่าเงินกู้ระยะยาว ข้อเสียการจัดหาเงินทุนระยะสั้น 1. ระยะเวลาสั้นอาจไม่สามารถชำระได้ทัน ทำให้เสียชื่อเสียง 2. อัตราดอกเบี้ยมักเป็นแบบลอยตัว
การจัดหาเงินทุนระยะปานกลาง (Intermediate-term Financing)
เงินกู้ระยะปานกลาง มีอายุการชำระคืน 1- 5 ปี ประกอบด้วยเงินกู้ 2 ประเภทคือ 1. การกู้แบบธรรมดา (Term loan)เป็นเงินกู้ที่ต้องชำระคืนตามกำหนดเวลา 3 , 6 , 12 เดือน จำนวนเงินที่ผ่อนชำระจะเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ 2. การกู้แบบข้อตกลงในวงเงินกู้ (Revolving Credit) ธนาคารจะต่ออายุวงเงินไปเรื่อย ๆ ต่อเนื่อง เหมาะกับธุรกิจที่ใช้วงเงินไม่แน่นอน
การเช่า(Lease Financing)เป็นการเช่าสินทรัพย์มาใช้ แบ่งออกได้เป็น 1. การเช่าโดยตรง ( Direct Lease ) เป็นการเช่าสินทรัพย์ที่ธุรกิจไม่เคยมีมาก่อน เช่น เครื่องจักร กล เครื่องถ่ายเอกสาร ฯ 2. การขายแล้วเช่ากลับ (Sale-lease Back) ธุรกิจมีสินทรัพย์อยู่แล้ว แต่ได้นำสินทรัพย์ไปขาย แล้วขอเช่ากลับคืนมาใช้งานต่อไป
การเช่าโดยตรง (Direct Lease) เช่า ธุรกิจ เครื่องจักร การขายแล้วเช่ากลับ (Sale-lease Back) ขาย ธุรกิจ เครื่องจักร เช่า
การจัดหาเงินทุนระยะยาว (Long- Term Financing)
การจัดหาเงินทุนระยะยาวได้มาจาก 3 แหล่ง • เงินทุนจากเจ้าของ • เงินจากการก่อหนี้
1. เงินทุนจากส่วนของเจ้าของ 1.1ออกหุ้นสามัญ จำหน่ายแก่บุคคลทั่วไปหรือผู้ถือหุ้นเดิม ผู้ซื้อมีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ จะได้รับเงินปันผลตอบแทน + มีสิทธิออกเสียงตามจำนวนหุ้น 1.2 ออกหุ้นบุริมสิทธิ์ จำหน่ายแก่บุคคลทั่วไป ผู้ซื้อจะได้รับ เงินปันผลตอบแทน ก่อนหุ้นสามัญ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงเหมือนหุ้น