1 / 36

การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรสายวิชาการ

การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรสายวิชาการ. 26 สค.5 4. บุคลากรสายวิชาการของจุฬาฯ (24 สค. 54). การประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ. ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พศ. 2551 หมวด 7 ข้อ 58 -70 และหมวด 12 ข้อ 100

gay-holt
Download Presentation

การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรสายวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรสายวิชาการการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรสายวิชาการ 26 สค.54

  2. บุคลากรสายวิชาการของจุฬาฯ (24สค.54)

  3. การประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ • ข้อบังคับฯว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พศ. 2551 หมวด 7 ข้อ 58 -70 และหมวด 12 ข้อ 100 • ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่อง เกณฑ์ภาระงานขั้นต่ำของคณาจารย์ ประจำ พ.ศ. ๒๕๕๒ • ประกาศคณะ........เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาระงานของอาจารย์สังกัดคณะ..... • ระเบียบฯหลักเกณฑ์วิธีการประเมินผล พ.ศ. 2553 • หลักเกณฑ์วิธีการประเมินผลปฏิบัติราชการ • ข้อบังคับฯการบริหารงานบุคคลผู้บริหารจุฬาฯ พ.ศ. 2552

  4. ข้อบังคับฯการบริหารงานบุคคล 51 หมวด 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้อ 58 – 70 ระบุเกี่ยวกับระบบ กลไก วิธีการ ผลการประเมินและหน้าที่ของแต่ละระดับ หมวด 12 ข้อ 100 เรื่องการพ้นสภาพพนักงานมหาวิทยาลัย ผลการประเมินระดับต่ำ ยกเลิกสัญญา ผลการประเมินระดับต้องปรับปรุง 2 ปีติดต่อกัน ยกเลิกสัญญา ผลการประเมินระดับปานกลางหรือต่ำกว่า 3 ปี ยกเลิกสัญญา

  5. ข้อบังคับฯการบริหารงานบุคคล 51 • ให้คณะกรรมการบริหารส่วนงาน กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาระงาน ของคณาจารย์ในสังกัด ให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของส่วนงาน เท่าที่ไม่ขัด หรือแย้งกับประกาศนี้ และเสนอต่อคณะกรรมการบริหารงานบุคคลเพื่อเห็นชอบ แล้วจัดทำเป็นประกาศส่วนงาน (ข้อ ๑๐) • ก่อนเริ่มต้นปีการศึกษา ให้ส่วนงานมอบหมายภาระงานให้แก่คณาจารย์ในสังกัดโดย จัดทำข้อตกลงภาระงาน (Job Assignment) ซึ่งรวมแล้วต้องไม่น้อยกว่า ๓๕ ภาระงานต่อสัปดาห์ โดยปรับสัดส่วนภาระงานได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อประกาศนี้ กรณีที่มีเหตุใดซึ่งทำให้ภาระงานที่ได้ตกลงไว้ไม่สามารถปฏิบัติได้ให้ปรับเปลี่ยน ข้อตกลงภาระงานให้เหมาะสมในทันที (ข้อ ๑๑)

  6. ประกาศฯเกณฑ์ภาระงานขั้นต่ำของอาจารย์ 52 • ภาระงานเฉลี่ยขั้นต่ำ แต่ละด้านไม่น้อยกว่าที่กำหนด ดังนี้(๑) งานสอน เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่า ๑๘ ภาระงานต่อสัปดาห์ ต้องมีภาระงานสอนนิสิตโดยตรงไม่น้อยกว่า ๙ ภาระงานต่อ สัปดาห์หรือ ๓ หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา (๒) งานวิจัยและวิชาการต้องไม่น้อยกว่า ๓.๕ ภาระงานต่อสัปดาห์(๓) งานพัฒนานิสิต ต้องไม่น้อยกว่า ๓.๕ ภาระงานต่อสัปดาห์ • (๔) งานบริหารและธุรการและ(๕) งานบริการวิชาการ รวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่า ๓.๕ ภาระงานต่อสัปดาห์

  7. ประกาศฯภาระงานขั้นต่ำของอาจารย์ ปี52 • ภาระงานที่ได้รับแต่งตั้ง/เลือกตั้ง/มอบหมาย กรณีเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัย สมาชิกสภาคณาจารย์ กรรมการหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่สภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหรือสภาคณาจารย์มอบหมาย ให้นับเป็น ภาระงานหลักด้วย โดยให้ปรับลดภาระงาน ลงตามสัดส่วน • ** หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาระงานให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริหารงานบุคคลประกาศกำหนด

  8. ประกาศฯภาระงานขั้นต่ำของอาจารย์ ปี52 • กรณีเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัย สมาชิกสภาคณาจารย์ กรรมการหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่สภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหรือสภาคณาจารย์มอบหมาย ให้นับเป็น ภาระงานหลักด้วย โดยให้ปรับลดภาระงาน ลงตามสัดส่วน • ** หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาระงานให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริหารงานบุคคลประกาศกำหนด

  9. ประกาศฯภาระงานขั้นต่ำของอาจารย์ ปี52 • การคำนวณภาระงานพัฒนานิสิตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณ ภาระงานที่คณะกรรมการบริหารงานบุคคลประกาศกำหนด คณะกรรมการบริหารส่วนงาน อาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาระงานพัฒนานิสิตเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของส่วนงาน ก็ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อข้อกำหนดของคณะกรรมการบริหารงานบุคคล

  10. ระเบียบฯหลักเกณฑ์วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ๕๓ • ประเมินผลการทดลองปฏิบัติงาน • ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี • ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อต่อสัญญาปฏิบัติงาน

  11. คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานฯคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานฯ • ประธานและกรรมการ ๒-๔ คน/บุคคลภายนอก ๑ คน • แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ / คณะทำงานรวบรวม/กลั่นกรองข้อมูล • เป้าหมาย วัตถุประสงค์ สัดส่วน น้ำหนักคะแนน • กำหนดผู้บังคับบัญชาชั้นต้น • ประเมินผลการปฏิบัตงานและจัดทำประกาศ • เสนอกรรมการบริหาร เห็นชอบ / แจ้งกรรมการบริหารบุคคลทราบ

  12. ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นผู้บังคับบัญชาชั้นต้น • จัดทำข้อตกลงภาระงานไม่น้อยกว่า ๓๕ ภาระงานต่อสัปดาห์ ก่อนเริ่มต้นปีการศึกษา • แจ้งเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เกณฑ์และสัดส่วน น้ำหนักคะแนน • หาข้อมูลการปฏิบัติงานทุกด้านเสนอกรรมการประเมินฯ • แจ้งผู้รับการประเมินถึงผลประเมิน ข้อดี ข้อควรปรับปรุง ระยะเวลาในการปรับปรุง ให้ผู้รับการประเมินลงนาม

  13. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (สายวิชาการ/สายปฏิบัติการ) • ให้ประเมินครอบคลุม ประเมินปริมาณงาน ประเมินคุณภาพงานและประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคล • แบบประเมินผลการทดลองปฏิบัติงาน • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อต่อสัญญาปฏิบัติงาน

  14. แบบประเมินผลการทดลองปฏิบัติงาน สายวิชาการ • ผ่านหมายถึง ผลการประเมินอย่างน้อยระดับดี • ครั้งแรก ภายใน ๔ เดือนนับแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน • ครั้งสอง ภายใน ๓ เดือนก่อนสิ้นสุดสัญญา • ผู้ใดผ่าน ให้ทำสัญญาปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข ข้อบังคับ บริหารบุคคล

  15. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี สายวิชาการ • ครั้งแรก ธันวาคม (งาน มิย.-พย. ) • ครั้งสอง มิถุนายนปีถัดไป ( งาน ธค.-พค.) • คะแนนประเมินเฉลี่ยทั้งสองครั้ง • พิจารณาปรับเงินเดือนประจำปี

  16. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อต่อสัญญาปฏิบัติงาน • ต้องแล้วเสร็จก่อนสิ้นสุดสัญญา ๓ เดือน • ประเมินตั้งแต่วันเริ่มสัญญา ถึงวันที่ประเมิน • นำผลการประเมินประจำปีที่ผ่านมา ประกอบ • สมควรต่อ ก็ สัญญาตามหลักเกณฑ์ฯ • ไม่สมควร ต้องแจ้งล่วงหน้า ๑ เดือน

  17. ระดับการประเมิน ๕ ระดับ • ระดับดีมาก ทำได้สูงกว่าที่คาดหวังหรือเป้าหมาย(๗๔.๐๑ ขึ้นไป) • ระดับดี ทำได้ ตามที่คาดหวังหรือเป้าหมาย ( (๖๐.๕๑-๗๔.๐) • ระดับปานกลาง ทำได้ต่ำกว่าที่คาดหวังหรือเป้าหมายเล็กน้อยแต่ยอมรับได้ (๔๗.๐๑-๖๐.๕๐) • ระดับต้องปรับปรุง ทำได้ต่ำกว่าฯกระทบการปฏิบัติงานรวม ต้องรีบปรับปรุงแก้ไขเร่งด่วน (๓๓.๕๑ – ๔๗.๐) • ระดับต่ำ ทำได้ต่ำกว่าฯ และเกิดความเสียหายที่ ยอมรับไม่ได้ ( ต่ำกว่า๓๓.๕)

  18. ภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการ • เงินเดือน เท่ากับ ภาระงานขั้นต่ำ 35 ภาระงานต่อ สัปดาห์ • เงินประจำตำแหน่ง เท่ากับ มาตรฐานภาระทางวิชาการของตำแหน่งนั้น ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผู้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  19. ภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการ มาตรฐานภาระงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ตาม ส.ก.อ. - ภาระงานขั้นต่ำ - งานวิจัย/ตำรา/หนังสือ/ผลงานวิชาการที่เทียบเท่า งานวิจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ปีละ หนึ่งรายการ หรือ บทความทางวิชาการ ปีละ สองรายการ มาตรฐานภาระงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ตาม ส.ก.อ. - ภาระงานขั้นต่ำ - งานวิจัย/ตำรา/หนังสือ/ผลงานวิชาการที่เทียบเท่า งานวิจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ปีละ หนึ่งรายการ หรือ บทความทางวิชาการ ปีละ สองรายการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  20. ภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการ มาตรฐานภาระงานของรองศาสตราจารย์ตาม ส.ก.อ. - ภาระงานขั้นต่ำ - งานวิจัย/ตำรา/หนังสือ/ผลงานวิชาการที่เทียบเท่า งานวิจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ปีละ สองรายการ มาตรฐานภาระงานของรองศาสตราจารย์ตาม ส.ก.อ. - ภาระงานขั้นต่ำ - งานวิจัย/ตำรา/หนังสือ/ผลงานวิชาการที่เทียบเท่า งานวิจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ปีละ สองรายการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  21. ภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการภาระงานของตำแหน่งทางวิชาการ มาตรฐานภาระงานของศาสตราจารย์ตาม ส.ก.อ. - ภาระงานขั้นต่ำ - งานวิจัยที่เผยแพร่ในระดับนานาชาติ/ผลงานวิชาการที่ เทียบเท่างานวิจัยอย่างใดอย่างหนึ่งปีละ หนึ่งรายการ หรือ ตำรา หรือหนังสือ หรือ บทความทางวิชาการ ปีละ สองรายการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  22. การประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ สัดส่วนน้ำหนักคะแนน 1. การประเมินปริมาณงาน 70 คะแนน 2. การประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคล และพฤติกรรม 30 คะแนน

  23. การประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ ส่วนที่ 1 การประเมินปริมาณงาน 70คะแนน   1.1การเรียนการสอน 50 1.2 งานพัฒนานิสิต   1.3 งานวิจัย   10 1.4 งานบริหาร/งานบริการวิชาการ 10

  24. การประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ ส่วนที่ 2. คุณลักษณะส่วนบุคคลและพฤติกรรม   30 คะแนน 2.1 ความรับผิดชอบและความตั้งใจในการทำงาน 7 คะแนน 2.2 ความมีน้ำใจ เสียสละและอุทิศเวลาเพื่องาน 7 คะแนน 2.3 ความเป็นผู้นำ   6 คะแนน 2.4 การรักษาระเบียบวินัยจรรยาบรรณ กฎเกณฑ์ในการทำงาน 5 คะแนน 2.5 การทำงานร่วมกันกับผู้อื่น 5 คะแนน

  25. ระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ • อาจารย์ เรียกดูรายการภาระงานของตน จากแบบฟอร์มภาระงานที่ถูกสร้างขึ้นและเพิ่มเติม/แก้ไขข้อมูลภาระงานให้ครบถ้วน • หัวหน้าภาคฯ พิจารณาตรวจสอบภาระงานอาจารย์ • คณบดี พิจารณาตรวจสอบภาระงานอาจารย์ • เจ้าหน้าที่คณะพิมพ์เอกสารภาระงานอาจารย์ ที่บันทึกเรียบร้อยและผ่านการตรวจสอบจากหัวหน้าภาค และคณบดีสำหรับให้อาจารย์ลงนามและคณบดีลงนาม

  26. ระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ • ภาพรวมของระบบภาระงานสายวิชาการ ข้อมูลที่ใช้ภายในระบบ • รหัสวิชา • เกณฑ์การคิดภาระงานขั้นต่ำตามประกาศมหาวิทยาลัย • เกณฑ์คำนวณภาระงานขั้นต่ำของแต่ละคณะ • ตารางสอนส่วนกลาง • การบันทึกภาระงานและการตรวจสอบ

  27. ระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการระบบการประเมินภาระงานพนักงานสายวิชาการ • แบ่งงานออกเป็น 4 ขั้นตอนคือ • การบันทึกข้อมูลภาระงานและตรวจสอบโดยตัวอาจารย์เอง • การตรวจสอบข้อมูลภาระงานโดยหัวหน้าภาค • การตรวจสอบข้อมูลภาระงานโดยคณบดี • การพิมพ์เอกสารภาระงานอาจารย์โดยเจ้าหน้าที่ภาคฯ

  28. ระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ระบบใหม่ : จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานเป็น 4 ประเภท ระบบ P.C. เดิม : 11 ระดับ ระดับ 11 ระดับ 10 ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับ 7 ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับ 1-3 หรือ 4 - 2518 : นำระบบ PC มาใช้ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลภาครัฐ - 2550 : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 : ให้ใช้ระบบคุณธรรม - 2551 : ก.พ.ปรับระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ พลเรือนไทย : 4 ประเภท - 2553 : ก.พ.อ.ปรับระบบการบริหารงานบุคคล และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ขรก.ก.พ.อ. 2

  29. ประเด็นหลักตามประกาศ ก.พ.อ. • เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • รอบการประเมิน • ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ • องค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมิน • การจัดกลุ่มระดับและช่วงคะแนนประเมิน • แบบประเมิน – ตัวอย่างแบบ • ระบบการจัดเก็บผลการประเมินและหลักฐาน • กลไกสนับสนุนความโปร่งใส /เป็นธรรม • วิธีการและขั้นตอนของการประเมิน • การบริหารผลการประเมิน (นำไปใช้ในด้านต่างๆ) 5

  30. 7

  31. การจัดกลุ่มระดับและช่วงคะแนนประเมิน 9

  32. ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วย การบริหารงานบุคคลผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. .... อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการสถาบัน ผู้ช่วยอธิการบดี รองคณบดี รองผู้อำนวยการ หัวหน้าภาควิชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  33. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  34. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

  35. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน • ประเมินตามข้อตกลงการปฏิบัติงานที่ได้ตกลงไว้ โดยเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการทำงาน • มีการประเมินทุกปี • เป็นการประเมินตนเอง และ มีการตรวจประเมินเพื่อยืนยัน (Self-Assessment & Confirmed Assessment) และต้องเป็นการประเมินให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด • เป็นการประเมินในลักษณะของผลการปฏิบัติงานเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ • ในเดือนสุดท้ายก่อนหมดวาระการดำรงตำแหน่งบริหารให้มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

  36. ปัญหาและข้อเสนอเพื่อพัฒนาขอบคุณครับปัญหาและข้อเสนอเพื่อพัฒนาขอบคุณครับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เสาหลักของแผ่นดิน

More Related