1 / 20

การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อโหราศาสตร์ กับชีวิตประจำวัน

การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อโหราศาสตร์ กับชีวิตประจำวัน. บรรยายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ณ มหาวิทยาลัย … 1 เมษายน 2547. โรจน์ จินตมาศ www.rojn-info.com. ข้อมูลกับสารสนเทศ.

gema
Download Presentation

การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อโหราศาสตร์ กับชีวิตประจำวัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อโหราศาสตร์ กับชีวิตประจำวัน บรรยายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ณ มหาวิทยาลัย… 1 เมษายน 2547 โรจน์ จินตมาศ www.rojn-info.com

  2. ข้อมูลกับสารสนเทศ • ขอมูลหมายถึงขอเท็จจริงของเหตุการณที่เกิดขึ้นและบันทึกไว้เป็นหลักฐานเชนรายการสินคา, ปริมาณการผลิตตอวัน, การจำหนายตอ วัน, ราคาวัตถุดิบชื่อลูกคาที่ไมชำระเงินตามกำหนด • สารสนเทศหมายถึงข้อมูลที่นำมาประมวลใหเกิดเปนความรูความเขาใจเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นสารสนเทศอาจผสมผสานความลำเอียงความรูสึกของผูรับ ครรชิต มาลัยวงศ์

  3. ระบบสารสนเทศ • INFORMATION SYSTEM หรือ IS • ระบบที่ใช้คอมพิวเตอรนำขอมูลที่จัดเก็บไวมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศสำหรับใชในการปฏิบัติงานและการบริหารงานของหน่วยงาน • ระบบสารสนเทศมีหลายแบบหลายชื่อ • เรียกกันทั่วๆไปว่าระบบงานคอมพิวเตอร์ ครรชิต มาลัยวงศ์

  4. โหราศาสตร์ (Astrology) • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน: “วิชาว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดาราศาสตร์เป็นหลัก” • ตามรากศัพท์หมายถึง “เวลา” • ภาษากรีก Astro(Stars) + Logos (words, reason, reckoning) = “an account or reckoning of the stars” • “ศาสตร์ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างดวงดาวกับชีวิตและสังคมมนุษย์”

  5. หลักวิชาทางโหราศาสตร์หลักวิชาทางโหราศาสตร์ • ภาคคำนวณ • ภาคพยากรณ์ • ภาคพิธีกรรม (การประยุกต์ใช้?)

  6. องค์ประกอบของวิชาโหราศาสตร์องค์ประกอบของวิชาโหราศาสตร์ • จักรราศี • เรือนชะตา • ดาวพระเคราะห์

  7. เหตุที่โหราศาสตร์ควรใช้ระบบคอมพิวเตอร์เหตุที่โหราศาสตร์ควรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ความต้องการตำแหน่งดาวที่ถูกต้องแน่นอน • การคำนวณเองทั้งหมดใช้เวลานาน • การใช้ปฏิทินโหรไม่มีความคล่องตัว • ต้องการการคำนวณที่ซับซ้อน เช่น อินภาษบาทจันทร์ (ไทย) ศูนย์รังสีและจุดอิทธิพลต่างๆ (ยูเรเนียน) ฯลฯ • ต้องการวันเวลาของดวงจรพิเศษ เช่น ดาวยกราศี จันทร์เพ็ญ-ดับ ฯลฯ • อาจเกิดความผิดพลาด (human Error) ในการคำนวณได้เสมอ คอมพิวเตอร์สามารถคำนวณได้อย่างถูกต้องแม่นยำและรวดเร็ว

  8. เหตุที่โหราศาสตร์ควรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความต้องการประยุกต์ใช้เพื่อการเสี่ยงโชค • ลอตเตอรี่ (สลากกินแบ่งรัฐบาล สลากใต้ดิน-บนดิน) • การเล่นหุ้น • การทายผลฟุตบอล

  9. เหตุที่โหราศาสตร์ควรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความต้องการข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ • ดวงตัวอย่างสำหรับการศึกษา • ดวงลูกค้าขาประจำ (อาจรวมถึง ประวัติ ที่อยู่ ฯลฯ) • การเรียนการสอนที่ทันสมัย • ฯลฯ

  10. ปัญหา/อุปสรรค • การยึดมั่นกับวิธีการผูกดวงและพยากรณ์แบบเดิมๆ • หลักวิชาในการพยากรณ์มีความแตกแยกแตกต่างมาก • มักให้ความสำคัญกับประโยชน์เฉพาะหน้า: รายได้ ชื่อเสียง ฯลฯ สรุป: “อัตตา”

  11. แนวทางการคำนวณปฏิทินโหรแนวทางการคำนวณปฏิทินโหร • วิธีการตามตำรา/คัมภีร์เดิม ได้แก่ คัมภีร์สุริยยาตร์ ของไทย • วิธีการตามหลักดาราศาสตร์สมัยใหม่

  12. จุดอ่อนจุดแข็งของตำราเดิมจุดอ่อนจุดแข็งของตำราเดิม “ใครก็ตามที่สร้างคัมภีร์พระสุริยยาตร์ขึ้นต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเป็นเยี่ยมในสมัยของท่าน ท่านสามารถให้หลักเกณฑ์คำนวณได้โดยไม่ต้องใช้ลอการิทึมหรือวิชาคำนวณชั้นสูง แต่เราจะต้องระลึกไว้ว่าเครื่องมือเครื่องใช้ทางดาราศาสตร์ในสมัยของท่านนั้น ย่อมไม่มีประสิทธิภาพเหมือนในสมัยปัจจุบัน ฉะนั้นก็เป็นเรื่องธรรมดาที่หลักเกณฑ์การคำนวณของท่านจะต้องมีการคลาดเคลื่อนบ้าง ซึ่งข้อนี้คงจะไม่มีใครไปตำหนิท่าน เพราะท่านได้กระทำอย่างดีที่สุดแล้วในพฤติภาพที่เป็นอยู่ขณะนั้น” พล.อ.ต. ม.ร.ว. สุกษม เกษมสันต์

  13. ตัวอย่างปัจจัย/ความซับซ้อนในการคำนวณทางโหราศาสตร์-ดาราศาสตร์ตัวอย่างปัจจัย/ความซับซ้อนในการคำนวณทางโหราศาสตร์-ดาราศาสตร์ • โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ แต่ต้องใช้โลกเป็นศูนย์กลางการคำนวณ • ดาวเคราะห์เหมือนโคจรถอยหลัง (พักร์ – retrograde)ในบางช่วง • วงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี • ดาวเคราะห์มีแรงดึงดูดส่งผลกระทบต่อวงโคจรของกันและกัน (perturbation) • ระยะห่างระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ • ค่าความรีของวงโคจร • ค่าความเอียงของวงโคจรเมื่อเทียบกับวงโคจรของโลก

  14. ขั้นตอนการคำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์โดยสังเขปขั้นตอนการคำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์โดยสังเขป • เทียบวันเวลาที่ได้เป็นวันเวลากรีนิซ (Greenwich Mean Time) • หาจำนวนวัน(หรคุณ –Day Number)นับจากวันเวลาที่ได้ไปยังวันที่เป็นจุดเริ่มยุค • คำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์ ณ วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Helio Centric Coordinate) • คำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์ ณ จุดสังเกตบนโลก(Geo Centric Coordinate)

  15. กระบวนการทำงานของนักโหราศาสตร์กระบวนการทำงานของนักโหราศาสตร์ รับวัน,เวลา,สถานที่เกิดจากเจ้าชะตา คำนวณตำแหน่งดาวและเรือนชะตา • ผสมความหมายความสัมพันธ์ต่างๆ • ดาวในราศี • ดาวในเรือนชะตา • ดาวทำมุมกัน • ดวงกำเนิด – ดวงจรอายุขัย - ดวงจรปัจจุบัน สรุปคำพยากรณ์

  16. ตัวอย่าง Source Code การคำนวณดาว • “Astronomy with your Personal Computer”by Peter Duffet-Smith • โปรแกรมAstrolog 5.4(www.astrolog.org) • Swiss Ephemeris(Open Source – www.astro.com)

  17. สาระประโยชน์ที่เราควรได้จากโหราศาสตร์สาระประโยชน์ที่เราควรได้จากโหราศาสตร์ เจ้าชะตารายบุคคล • นิสัยใจคอ-บุคลิกลักษณะอันเป็นจุดแข็ง/จุดอ่อน-โอกาส/วิกฤต • แนวทางการดำเนินชีวิตในระยะยาว การปรับปรุงคุณภาพชีวิต สังคมส่วนรวม • ฤดูกาล ความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ • จุดอ่อน/จุดแข็งของแต่ละสังคม/ประเทศชาติ • โอกาส/วิกฤตของแต่ละสังคม/ประเทศชาติ หรือสังคมโลกโดยรวม

  18. SWOT โชค-เคราะห์ ในแนวคิดใหม่

  19. Internet กับอนาคตโหราศาสตร์ • จุดแข็ง: สื่อที่เข้าถึงคนสมัยใหม่ได้เป็นจำนวนมาก • ปัญหา: หลายเว็บไซต์เป็นเพียงสื่อใหม่ของนักโหราศาสตร์ที่มีแนวคิดเดิมๆ • โอกาส: สามารถใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่แนวความคิด หลักวิชา ข่าวสาร ฯลฯ ที่จะสร้างความก้าวหน้าให้กับวงการได้

  20. เรียนรู้ร่วมกัน สร้างสรรค์โหราศาสตร์ www.rojn-info.com

More Related