1.19k likes | 3.93k Views
WP-Work Procedure WI-Work Instruction หัวใจสำคัญของ การประกัน คุณภาพ ( EdPEx ). www.themegallery.com. ความสำคัญของ WP & WI. 1. Work Procedure/ Work Flow. 2. ระบบเอกสาร. KPIs. 3. 5. Work Instruction ( วิธีปฏิบัติงาน). 4. Contents. วิทยากร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศีขรินทร์ สุขโต
E N D
WP-Work ProcedureWI-Work Instructionหัวใจสำคัญของการประกันคุณภาพ(EdPEx) www.themegallery.com
ความสำคัญของ WP & WI 1 Work Procedure/ Work Flow 2 ระบบเอกสาร KPIs 3 5 Work Instruction (วิธีปฏิบัติงาน) 4 Contents
วิทยากร • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศีขรินทร์ สุขโต • ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ตำแหน่งบริหาร ผู้ช่วยอธิการฯฝ่ายการประกันคุณภาพ • วิศวกรฝ่ายผลิต บริษัท สระบุรีซีเมนต์ • ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและควบคุมการผลิต บริษัท เอ็น เค แอพพาเรล • ที่ปรึกษา บริษัท ทีเฮชเคการ์เมนต์ จ. สุรินทร์ • อาจารย์พิเศษ วิชาการจัดการอุตสาหกรรม วิชาวิศวกรรมความปลอดภัย วิชาสถิติวิศวกรรม วิชาการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา และวิชาเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ที่มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิต คณะเทคโนโลยี ม.ข. • วิทยากรด้านวิศวกรรมความปลอดภัย ด้านการจัดการอุตสาหกรรม • วิทยากรด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และ มาตรฐานการทำงาน • รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ (QA) คณะวิศวฯ ม.ข. • ที่ปรึกษาประจำศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มข. , ITAP, สสท. • ที่ปรึกษา LEAN & 6 Sigma บริษัทไนซ์แอพพาเรลกรุ๊ป
WP & WI ทำ.......ทำไม ? ถูกสั่ง ให้ทำ ? สั่งทำไม ? มาตรฐาน การทำงาน การปรับปรุง ต่อเนื่อง คุณภาพการบริการ
ก.พ.ร. ทั้งหมด คือ คุณภาพการทำงาน ?
18 ตัวบ่งชี้ 23 ตัวบ่งชี้ PMQA-PL EdPEx 6 เกณฑ์
EdPEx FRESH ONE QUALITY SYSTEM Flexible Reality Easy Simple Happy KKU EdPEx
แยกการประเมิน IQA และ EdPEx ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ทีมผู้ตรวจประเมิน EdPEx IQA สกอ.
การจัดทีมคณะกรรมการตรวจประเมิน EdPEx A B วิทยาศาสตร์สุขภาพ 7 คณะ กลุ่มคณะวิทย์-เทคโน 10 คณะ EdPEx D C คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 5 คณะ หน่วยงานสนับสนุน 22 หน่วยงาน กรรมการทีมที่ 2 กรรมการทีมที่ 1 กรรมการทีมที่ 3 กรรมการทีมที่ 4
ทีมกรรมการ สิงหาคม 55 กันยายน 55 พฤศจิกายน 55 ตุลาคม 55 ทีมกรรมการ 7 คณะ • สร้างทีม WORK • สร้างมาตรฐานในการประเมินตามเกณฑ์ EdPEx ของแต่ละกลุ่ม • กระบวนการเทียบเคียงผลการดำเนินงาน /แนวปฏิบัติที่ดี • การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมผู้ตรวจประเมินและผู้ถูกตรวจประเมิน • คณะวิชาสามารถตกลงเลือกวันตรวจประเมินร่วมกันกับกรรมการได้ • ยืดระยะเวลาการปฏิบัติงาน (site visit 1-2 วัน) • การตรวจประเมินเพื่อสะท้อนผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ EdPEx • การจัดทำรายงานข้อมูลป้อนกลับอย่างรวดเร็วและทันต่อการใช้งาน
สุดท้าย ก็จบที่ ECPE ที่มีชื่อเล่นว่า EdPEx
ฝรั่งเรียก BPI • Business Process Improvement
ญี่ปุ่นเรียก กระดาษม้วน • มากิกามิ
TPS • ด้านการผลิต • ผลิตเท่าที่จำเป็น • หยุดผลิตทันทีที่ผิดพลาด • กำจัดทุกสิ่งที่ไม่เพิ่มมูลค่า • ด้านการจัดการคน • ให้ความสำคัญกับพนักงานทุกคน • ใช้ศักยภาพของพนักงานอย่างเต็มที่ • เชื่อมั่นในความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ของพนักงาน
LEAN เรียก S.O.P. • Standard Operation Procedure/ StandardWork
PDCA = ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
PDCA = ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา • อิทธิบาท หรือ อิทธิบาท 4 หมายถึง ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือเครื่องให้ถึงความสำเร็จ เครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย • ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป • วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ท้อถอย • จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป • วิมังสา (ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น
KPIs……. วัดไม่ได้ จัดการไม่ได้
Flow Chart start Start#1 กำหนดตัวแปรและให้ค่าเริ่มต้น กำหนดตัวแปรและให้ค่าเริ่มต้น รับข้อมูล วนรอบการทำงาน 10 รอบ ตรวจสอบการทำงาน Y N รับข้อมูล แสดงข้อความ คำนวณ... กระบวนการย่อย #1 Y ทำต่อหรือไม่ End #1 N stop
House of Organization Activity Strategic Operation Vision or Crisis Normal Operation Objective Core Process O/P 1 O/P 2 O/P 3 Outcome Input Output Support Process Result Efficiency Effectiveness
คุณภาพการบริการ และความพึงพอใจ “ลูกค้ามักตัดสินเกี่ยวกับคุณภาพของบริการที่เขารับ จากการประเมินบุคคลที่เป็นผู้ให้บริการ” เกร็ดความรู้ “ลูกค้า และความพึงพอใจ”
สัญลักษณ์ จุดเชื่อมต่อกับกระบวนงานอื่น จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดกระบวนงาน กิจกรรมงาน/ขั้นตอนในกระบวนงาน จุดตัดสินใจ เอกสาร - ข้อมูลนำเข้า / ผลผลิต / รายงาน ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระบวนงาน จุดเชื่อมต่อ
ผู้รับบริการ หน่วยงานที่ 1 หน่วยงานที่ 2 แกนนอน: แสดงบทบาทผู้รับผิดชอบ (เช่น ผู้ดูแล) แกนตั้ง: แสดงเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม 1 ใช่ ยื่นคำร้องด้วย ตนเองหรือไม่ ตรวจสอบข้อมูลที่มี (แบบฟอร์ม, ระบบ, เป็นต้น) 5 นาที 8 นาที 15 นาที 15 นาที 15 นาที รูปสามเหลี่ยมแสดงการเชื่อมต่อกับกระบวนงานอื่น ไม่ใช่ จำเป็นต้องให้ ผู้รับบริการติดต่อไป ยังสำนักงาน/หน่วยงาน อื่นหรือไม่ ไม่ใช่ ใช่ นำผู้รับบริการไป ติดต่อหน้าต่าง ฝ่ายต้อนรับที่เหมาะสม นำผู้รับบริการไป ติดต่อหน้าต่าง ฝ่ายต้อนรับที่เหมาะสม สิ้นสุด รูปวงรีแสดงจุดสิ้นสุดของกระบวนงาน ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ ได้รับคำร้องทาง ไปรษณีย์หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกคำร้องจาก เครื่องตอบรับอัตโนมัติ มอบหมาย ผู้ตรวจสอบคำร้อง รูปสี่เหลี่ยมแสดงกิจกรรม รูปเพชรแสดงจุดตัดสินใจ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของใบสมัคร วิจัยระบบสารสนเทศของผู้รับบริการ รูปวงกลมเชื่อมต่อ ไปยังหน้าถัดไป 2
เป้าหมาย :ลดรอบเวลาและ ความผิดพลาด High As Is (Current State) Should Be (new As Is) Cycle Time and Defects Should Be (new As Is) Should Be (new As Is) Could Be (Best-in-Class) Low Time
Work Flow วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการหรือแนวทางในการจัดทำเอกสารที่จำเป็นในองค์กร • เข้าใจโครงสร้างเอกสารในระบบมาตรฐานสากล • สามารถจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของหน่วยงานตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ • สามารถนำเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อมาช่วยในการวิเคราะห์และช่วยในการปรับปรุงกระบวนการทำงานในหน่วยงานตนเองได้ • เข้าใจและทราบประโยชน์ในการควบคุมเอกสารและวิธีการควบคุม
ระดับที่ 2: ระเบียบปฏิบัติ // คู่มือการปฏิบัติงาน(Procedure / Work Manual) • เปรียบเสมือนแผนที่บอกเส้นทางการทำงานที่มีจุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของกระบวนการ • ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่างๆ ขององค์กรและวิธีควบคุมกระบวนการนั้น • มักจัดทำขึ้นสำหรับลักษณะงานที่ซับซ้อน มีหลายขั้นตอนและเกี่ยวข้องกับคนหลายคน • สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
ระดับที่ 2: ระเบียบปฏิบัติ // คู่มือการปฏิบัติงาน(Procedure / Work Manual)
วัตถุประสงค์ Work Manual • 1.เพื่อให้การปฏิบัติงานในปัจจุบันเป็นมาตรฐานเดียวกัน • 2.ผู้ปฏิบัติงานทราบและเข้าใจว่าควรทำอะไรก่อนและหลัง • 3.ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อใด กับใคร • 4.เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ และเป้าหมายขององค์กร • 5.เพื่อให้ผู้บริหารติดตามงานได้ทุกขั้นตอน • 6.เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม • 7.ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทำงาน • 8.ใช้เป็นสื่อในการประสานงาน