320 likes | 747 Views
การสัมมนา ปัญหาอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน. ณ ห้องกัญญาลักษณ์ บอล รูม โรงแรม โฟร์วิงส์ สุขุมวิท ๒๖ วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๕-๑๐.๐๕ น. “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน”. โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ
E N D
การสัมมนา ปัญหาอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ณ ห้องกัญญาลักษณ์ บอลรูม โรงแรมโฟร์วิงส์ สุขุมวิท ๒๖ วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๕-๑๐.๐๕ น. “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน” โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ สำนักกฎหมาย กรมศุลกากร
ความเป็นมาและความหมายของการค้าชายแดนความเป็นมาและความหมายของการค้าชายแดน • • ประชาชนมีการสัญจรข้ามแดนระหว่างรัฐ:รัฐ • • มีการค้าขายเล็กๆน้อยๆ บริเวณชายแดน (ทางบก) ณ จุดผ่านแดน ชั่วคราว/ถาวร (ตาม พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522) หรือจุดผ่อนปรน • • จุดผ่อนปรน (Check Point for Border Trade) • • จุดผ่านแดนชั่วคราว (Temporary Crossing Point) • • จุดผ่านแดนถาวร (Permanent Crossing Point) • • พิธีการศุลกากรเป็นไปในลักษณะ “Simplify”
ประโยชน์ของการค้าชายแดนประโยชน์ของการค้าชายแดน • - มนุษยธรรม • - ส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับท้องถิ่น • - ส่งเสริมการค้ารายย่อย และการสัญจรของประชาชน • - ส่งเสริมการท่องเที่ยว • - ลดอาชญากรรม
วิวัฒนาการของการค้าชายแดนวิวัฒนาการของการค้าชายแดน • - ปริมาณการค้าและชนิดสินค้ามากขึ้น • - มีลักษณะการค้าในเชิงพาณิชยกรรม • -Border Trade Inter State • ภาครัฐกำหนดจุดเข้า-ออก และสถานที่ดำเนินการ • อย่างถาวรและอย่างเป็นทางการ เรียกว่า “จุดผ่านแดน” • “ทางอนุมัติ” และ “ด่านศุลกากร” • มีพิธีการศุลกากรเต็มรูปแบบ (Customs • Clearance Procedure)
ศุลกากรกับการค้าชายแดนศุลกากรกับการค้าชายแดน • พิธีการนำเข้า (Import Procedure) • พิธีการนำเข้าชั่วคราว (Temporary Importation Procedure) • พิธีการส่งออก (Export Procedure) • พิธีการเฉพาะกรณี (Re-Export) การถ่ายลำ ผ่านแดน ข้ามแดน
- AEC คืออะไร - • การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจของประเทศ 10 ประเทศ ให้กลายเป็น “One Unity” • รวมถึงความมั่นคง สังคม วัฒนธรรม แต่ไม่รวมถึงดินแดน และหลักอธิปไตย • (เท่าที่ไม่ขัดกับ Concept) การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ) ดังนั้น จึงต้องมอง • “ภาพรวม” ไม่ใช่ “Individual Country”ความร่วมมือใดๆ ที่มีอยู่/ใช้อยู่ • ก็ให้ใช้ต่อไป แต่หลักการต้องส่งเสริมระบบเศรษฐกิจของอาเซียนโดยรวม • ยึดมั่นและปฏิบัติตามพันธกรณีใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมเศรษฐกิจของอาเซียน
ประโยชน์ของ AEC • ต้นทุนในการผลิตจะลดลง เนื่องจากการค้าเสรีมากขึ้น (ไม่มีภาษี) • การเคลื่อนย้ายแรงงานและเงินทุน ตลอดจนบริการต่างๆ เป็นไป อย่างสะดวกคล่องตัว • เมื่อต้นทุนลดลง จะทำให้เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่น • ได้มากขึ้น • เป็นตลาดที่มีขนาด (Volume) ใหญ่ขึ้น (ประมาณ 550 ล้านคน) จึงทำให้น่าสนใจมากขึ้น (Attractive) ต่อประเทศคู่ค้า • เกิดอำนาจในการต่อรองทางการค้ามากขึ้น
แผนงานจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blue Print • การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน • การไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกัน • การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์และเหมาะสม
บทบาทกรมศุลกากรภายใต้ AEC • มาตรการยกเลิกภาษีศุลกากรและมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี • ๑.๑) มาตรการยกเลิกภาษีศุลกากร (Elimination of Tariffs) • ๑.๒) มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (Non Tariff Barriers: NTB) • การปรับปรุงแก้ไขกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าและระเบียบวิธีปฏิบัติที่ทันสมัย • มาตรการอำนวยความสะดวกทางการค้าเพื่อลดต้นทุนทางธุรกรรม • ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window) • มาตรการกระตุ้นการรวมกลุ่มทางศุลกากร • แผนงานศุลกากรเพื่อรองรับ AEC
AEC Blue Print ทำอย่างไร - การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเคลื่อนย้ายสินค้า การเคลื่อนย้ายบริการที่เสรี การเคลื่อนย้ายการลงทุนที่เสรี การเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น การเคลื่อนย้ายแรงงานที่เสรี
การเคลื่อนย้ายสินค้าที่เสรีภาพในอาเซียนการเคลื่อนย้ายสินค้าที่เสรีภาพในอาเซียน • พัฒนาระบบการผ่านแดนของอาเซียนภายใต้กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Framework Agreement to the Facilitation of Goods in Transit) โดยอยู่บนพื้นฐานของ IT Technique เรียกว่า“ASEAN Customs Transit System” • การผ่านแดนมีเจตนาเพื่อขนของผ่านดินแดน มิใช่การนำเข้าปกติ จึงไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร
การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → ปรับปรุง/พัฒนา พิธีการศุลกากร (ทั่วไป) ตลอดจนระเบียบ ทางการค้า (Trade Regulations) ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดย Adopt International Standards + Best Practicesเช่น ใช้แบบฟอร์มใบขนสินค้ารูปแบบเดียวกัน (Single Declaration) และการตรวจปล่อยสินค้าที่มีมาตรฐานเดียวกัน (ASEAN Cargo Clearance/Processing) → การใช้ระบบการจำแนกพิกัดศุลกากรของอาเซียน โดยอยู่บนพื้นฐานของ HS Convention ของWCO
การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → การประเมินราคาโดยอยู่บนพื้นฐานของ WCOและ GATT → จัดทำระบบพิธีการศุลกากร (เฉพาะเรื่อง)เช่น Inward – Outward Processing, Modernized Customs Techniques → เพิ่ม/ส่งเสริมการให้ความร่วมมือ/ช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างศุลกากร →การพัฒนาพิธีการศุลกากรให้มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมาตรฐานสากลตามที่กำหนดไว้ในความตกลงหรืออนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับต่างๆ
การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → การประเมินราคาโดยอยู่บนพื้นฐานของ WCOและ GATT → จัดทำระบบพิธีการศุลกากร (เฉพาะเรื่อง)เช่น Inward – Outward Processing, Modernized Customs Techniques → เพิ่ม/ส่งเสริมการให้ความร่วมมือ/ช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างศุลกากร E-ASEAN Customs →National Single Window (การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวของแต่ละประเทศสมาชิก) →ASEAN Single Window (การเชื่อมต่อการให้บริการระหว่าง NSW ของประเทศสมาชิก
National Single Window →ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน (Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) →ASEAN Single Window (การเชื่อมต่อการให้บริการระหว่าง NSW ของประเทศสมาชิก →National Single Window (การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวของแต่ละประเทศสมาชิก) →ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการสำหรับการนำเข้า กาส่งออก การนำผ่าน และโลจิสติกส์ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ....
กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดนกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน • (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods • in Transit: AFAFGT) • •ASEANทุกประเทศลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลในทางปฏิบัติ โดยจะปฏิบัติพร้อมๆกัน เนื่องจากเป็นความตกลงของอาเซียน • • ASEANต้องจัดทำพิธีสารหรือภาคผนวกต่างๆ ให้เสร็จสิ้น • • กรอบความตกลงฯ ประกอบด้วย ๙ พิธีสาร แบ่งเป็น • - ด้านการขนส่ง ๗ ข้อ • - ด้านศุลกากร ๒ ข้อ ได้แก่ • ๑. พิธีสาร ๒ การกำหนดที่ทำการพรมแดน • (Designation of Frontier Posts) • ๒. พิธีสาร ๗ ระบบศุลกากรผ่านแดน • (Customs Transit System) ซึ่งยังไม่ได้มีการลงนาม
การถ่ายลำ • -มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ • - ข้อห้าม ข้อจำกัด ของการถ่ายลำมีหรือไม่ อย่างไร • -ความหมายของการถ่ายลำตามอนุสัญญาเกียวโต (ฉบับแก้ไข) • ความคืบหน้าของร่างกฎหมายว่าด้วยการผ่านแดน-ถ่ายลำ • ขณะนี้ (๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๖) ร่างพระราชบัญญัติ (ฉบับที่ ..) • พ.ศ. .... (ว่าด้วยการถ่ายลำและการผ่านแดน) สำนักงาน • คณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ตรวจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ • ดังกล่าวเสร็จแล้ว
อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพิธีการศุลกากรที่เรียบง่ายและสอดคล้องกันอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพิธีการศุลกากรที่เรียบง่ายและสอดคล้องกัน • (ฉบับแก้ไข) The Revised Kyoto Convention • ประเทศไทยกำลังจะเข้าเป็นภาคีสมาชิก • การกำหนดมูลค่าหรือภาษีขั้นต่ำที่จะไม่มีการจัดเก็บภาษี • การกำหนดให้คำวินิจฉัยล่วงหน้าของศุลกากรมีผลผูกพันและการเก็บค่าธรรมเนียมในการออกคำวินิจฉัย • การยื่นเอกสารประกอบทางอิเล็กทรอนิกส์
• ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามพรมแดน • ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง • -- ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก ดังนี้ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า และจีน มีการลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลในทางปฏิบัติ • - - ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกที่อยู่ติดกันต้องจัดทำ MOU เพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตาม CBTA ได้โดยไม่ต้องรอประเทศที่ไม่พร้อม • - -ลดขั้นตอนการตรวจสินค้า โดยจะตรวจพร้อมกันครั้งเดียวในบริเวณพื้นที่ ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area: CCA) ซึ่งพื้นที่นี้อาจตั้งอยู่ในหรือ นอกราชอาณาจักร ก็ได้ โดยต้องมีการแก้กฎหมายศุลกากรด้วย เพื่อให้อำนาจ แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรที่จะเข้าไปตรวจสินค้า ณ พื้นที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งตั้งอยู่ นอกราชอาณาจักรได้
• การดำเนินการของสำนักกฎหมาย • -- เสนอแก้ไขร่างเพิ่มเติมพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรมีอำนาจตรวจของ ณ พื้นที่ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area: CCA) ไม่ว่า CCA จะอยู่ในหรือนอกราชอาณาจักร • - - เสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (ว่าด้วยการถ่ายลำและผ่านแดน)
๏ ต้องเจรจาเพิ่มและพิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต๏ ต้องเจรจาเพิ่มและพิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ๏ ต้องเตรียมความพร้อมในทุกด้าน เช่น บูรณาการกฎหมายของหน่วยงาน ให้เสริมสร้างความได้เปรียบแก่ประเทศและต้องสอดคล้องกับความหมายสากล ๏ ต้องพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเจรจาการค้าระหว่างประเทศของ ทุกหน่วยงาน เช่น การLobbyการต่อรองกลยุทธ์ในการเจรจาใน ภาพรวมภาษาอังกฤษ การเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศอาเซียนอื่น เป็นต้น • • สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
๏ ต้องมีการกำหนดนโยบายระดับประเทศให้เหมาะสมโดยการวิเคราะห์ เชิงลึกโดยนักวิชาการมืออาชีพ ๏ กรมศุลกากรต้องประสานงานกับหน่วยงานในประเทศและประสานงาน กับกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อดำเนินการร่วมกันในการ นำระบบ National Single Window และ ASEAN Single Window มาใช้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ๏ ต้องแก้ไขกฎหมายศุลกากรให้มีความชัดเจนและเหมาะสม เช่น ความหมายของการผ่านแดน ถ่ายลำ ฯลฯ เพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • • สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
๏ ต้องพัฒนาศักยภาพการผลิตให้มีต้นทุนที่ต่ำที่สุด เช่น ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ช่วย เนื่องจากจะมีคู่แข่งมากขึ้น ๏ ควรเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐให้มากที่สุด เพื่อให้ข้อมูลแก่ภาครัฐ ในการเจรจาต่อรองเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศมากที่สุด ๏ พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอร์ เพื่อความเป็นต่อและ ความสะดวกราบรื่นในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ และการติดตามความคืบหน้าหรือ updateในเรื่องต่างๆ ๏ ต้องมองว่าพื้นที่ทางเศรษฐกิจจะกว้างกว่าเดิมมิได้จำกัดอยู่เฉพาะพื้นที่/ดินแดนของประเทศไทยเท่านั้น ๏ ใช้จุดแข็งของประเทศไทยให้เป็นประโยชน์มากที่สุด • • สิ่งที่ต้องเตรียมตัว (ภาคเอกชน)
๏ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Logisticเช่น ACTs CBTA และกฎหมายและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทุกฉบับ เช่น ร่าง พรบ.ศุลกากร เป็นต้น ๏ มีความสามัคคี หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ควรรวมกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เข้มแข็งขึ้น หรือเพิ่มเครือข่ายมากขึ้น เพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการต่อรอง ๏ ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ๏ ศึกษาวิธีการทางธุรกิจของภาคเอกชนสัญชาติต่างๆ ๏ ทำการค้าอย่างสุจริต ซื่อสัตย์และมีวินัยทางการเงิน การคลัง • • สิ่งที่ต้องเตรียมตัว (ภาคเอกชน)
THANK YOU ขอบคุณค่ะ